กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพจิตในชุมชน ประจำปี 2564
รหัสโครงการ 64-L2543-2-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (อสม.หมูที่ 10)
วันที่อนุมัติ 12 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 28 กุมภาพันธ์ 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 9 มีนาคม 2564
งบประมาณ 11,370.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอ้น แสงสุวรรณ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 27 ม.ค. 2564 27 ม.ค. 2564 11,370.00
รวมงบประมาณ 11,370.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละ 20 ประชาชนบ้านป่าเย มีปัญหาสุขภาพจิตและปํญหาครอบครัว
60.00
2 ร้อยละ 20 ประชาชนบ้านป่าเย ขาดความรู้เข้าใจเรื่องสุขภาพจิต
60.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันคนไทยต้องเผชิญกับสถานการณ์ปัญหาต่างๆ มากมาย ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพจิต ทั้งทางตรงและทางอ้อม ไม่ว่าจะเป็นความวิตกกังวล ความเครียด ซึมเศร้า เหงา ท้อแท้ เบื่อหน่าย และการฆ่าตัวตาย การใช้ชีวิตในแต่ละวัน นอกจากต้องมีความสามารถในการดูแลจิตใจ เพื่อเอาตัวรอดจากผลกระทบทางสุขภาพจิตที่เกิดจากการเผชิญปัญหาอุปสรรคต่างๆ ตลอดเวลาอีกด้วย การอยู่กับครอบครัว แต่ในสังคมปัจจุบันความสัมพันธ์ในครอบครัวที่เคยแนบแน่นและอบอุ่นก็เริ่มเลือนหายไป เปลี่ยนแปลงไป ตามยุคตามสมัย คนในครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกันน้อยลง พ่อแม่มีหน้าที่แสวงหาทรัพย์สินเงินทอง เพื่อมาเลี้ยงดูปรนเปรอความสุขให้ลูก ดังนั้นเพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาพจิต และความสัมพันธ์ในครอบครัว อสม.หมู่ที่ 10 ได้เล็งเห็นถึงการพัฒนาครอบครัวให้มีชีวิตที่ดีขึ้น และเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วม จึงได้จัดทำโครงการ สร้างเสริมสุขภาพจิตและความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัวขึ้นมา เพื่อให้ประชาชนในชุมชนรู้จักการใช้ชีวิตในยุคปัจจุบัน และการอยู่กับครอบครัวอย่างมีความสุข

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย สามารถ คัดกรองประเมินภาวะด้านสุขภาพจิต ได้อย่างถูกต้อง

ประชาชนในชุมมีความรู้เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิต ปัญหาภาวะซึมเศร้า ร้อยละ 90

60.00 60.00
2 เพื่อให้ประชาชนในชุมชนหมู่บ้านที่ 10 บ้านป่าเยมีสุขภาพจิตที่ดี ลดอัตราการเกิดปัญหาครอบครัว

ประชาชนในชุมชนหมู่บ้านที่ 10 บ้านป่าเยมีสุขภาพจิตที่ดี ลดอัตราการเกิดปัญหาครอบครัว ร้อยละ 90

60.00 50.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 100 11,370.00 2 11,370.00
1 - 31 มี.ค. 64 ประเมินแบบสอบถามด้านสุขภาพจิต 50 500.00 500.00
1 - 31 มี.ค. 64 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพจิตในชุมชน ประจำปี 2564 50 10,870.00 10,870.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในชุมหมู่ที่ 10 บ้านป่าเย รู้จักการใช้ชีวิตในยุคปัจจุบัน 2.ประชาชนในชุมมีสุขภาพจิตที่ดี 3.ครอบครัวที่เข้าร่วมอบรม มีการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ธ.ค. 2563 00:00 น.