กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ
รหัสโครงการ 64-L3066-04-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ผู้ช่วยเลขานุการกองทุนฯ
วันที่อนุมัติ 30 กันยายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 97,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนาเซร์ หวังจิ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวนูรียะ กะจิ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 26 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การบริหารจัดการและการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนมากที่สุด มีการบริหารจัดการกองทุนฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ร่วมกำหนดแนวทางการดำเนินงาน โดยกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ซึ่งสามารถจัดการปัญหาด้านสุขภาพในระดับท้องถิ่นที่ได้นั้นคณะกรรมการกองทุนและแกนนำชุมชนสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจ สามารถนำมาเสนอจัดทำโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ และรู้บทบาทของคณะบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้สามารถศึกษาแนวทางแก้ไขปัญหา และร่วมกันวางแผนในการแก้ไขปัญหาของกลุ่มได้อย่างเป็นระบบ   ดังนั้นกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ท่ากำชำ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ท่ากำชำ ขึ้น เพื่อให้การดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเกิดประสิทธิผลกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่ากำชำ เพื่อดูการดำเนินงานด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นวิทยาศาสตร์เชิงเกษตรและจัดการสุขภาพที่ได้รับการสนับสนุนดำเนินงานจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ซึ่งเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หาประสบการณ์จากกองทุนต้นแบบที่ประสบผลสำเร็จ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 170 97,000.00 5 44,325.00
1 ต.ค. 63 - 31 ธ.ค. 63 ประชุมคณะกรรมการกองทุน และอนุกรรมการ ครั้งที่ 1 26 11,750.00 11,750.00
1 ต.ค. 63 - 31 ธ.ค. 63 ประชุมคณะอนุกรรมการ กองทุน LTC ครั้งที่ 1 10 3,750.00 3,750.00
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 ค่าวัสดุสำนักงานต่าง ๆ เช่น วัสดุสำนักงาน ,ถ่ายเอกสาร 0 8,000.00 7,400.00
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 คณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน ปฏิบัติราชการตามที่ประธานอนุมัติ อบรม/ประชุม 26 20,000.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 ประชาคมสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ 0 7,000.00 -
1 ม.ค. 64 - 31 มี.ค. 64 ประชุมคณะกรรมการกองทุน และอนุกรรมการ ครั้งที่ 2 26 11,750.00 10,950.00
1 ม.ค. 64 - 31 มี.ค. 64 ประชุมคณะอนุกรรมการ กองทุน LTC ครั้งที่ 2 10 3,750.00 -
1 เม.ย. 64 - 30 มิ.ย. 64 ประชุมคณะกรรมการกองทุน และอนุกรรมการ ครั้งที่ 3 26 11,750.00 10,475.00
1 เม.ย. 64 - 30 มิ.ย. 64 ประชุมคณะอนุกรรมการ กองทุน LTC ครั้งที่ 3 10 3,750.00 -
1 ก.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 ประชุมคณะกรรมการกองทุน และอนุกรรมการ ครั้งที่ 4 26 11,750.00 -
1 ก.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 ประชุมคณะอนุกรรมการ กองทุน LTC ครั้งที่ 4 10 3,750.00 -

ขั้นเตรียมการ
1. เตรียมเอกสาร
2. ประสานงานกับทุกฝ่าย
ขั้นดำเนินการ
กิจกรรมหลักที่ 1 กิจกรรมการบริหารและพัฒนากองทุนฯ
- กิจกรรมรอง
1.1 ประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
  - กิจกรรมย่อย
  1.1.1 เตรียมเอกสารและวัสดุต่างๆในการประชุม
  1.1.2 เตรียมอาหารว่างและเครื่องดื่มของผู้เข้าร่วมประชุม
1.2 ติดตามโครงการแต่ละโครงการของทีมงานหรืออนุกรรมการติดตาม
  - กิจกรรมย่อย
  1.2.1 สรุปและรายงานผลการติดตามโครงการ
1.3 รับการติดตามกองทุนหลักประกันสุขภาพจากพี่เลี้ยงกองทุนฯ
1.4 การจัดทำแผนงานโครงการของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กิจกรรมหลักที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ
- กิจกรรมรอง
2.1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกองทุนฯ
  - กิจกรรมย่อย
  2.1.1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้คณะกรรมการกองทุนฯคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และที่ปรึกษา
  2.1.2 กิจกรรมจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และที่ปรึกษา
ขั้นประเมินผล
1. รายงานผลการดำเนินงาน
2. สรุปผลการดำเนินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำภูมิปัญญาท้องถิ่นวิทยาศาสตร์เชิงเกษตรและการบริหารจัดการมาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดทำโครงการ
  2. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่ากำชำ สามารถพัฒนาเป็นกองทุนฯ ต้นแบบได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ธ.ค. 2563 11:33 น.