กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร


“ โครงการอบรมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ”

ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายมะยือรี หะแว

ชื่อโครงการ โครงการอบรมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4120-01-07 เลขที่ข้อตกลง 16/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ได้มาตรฐาน ชุมชนมีอุปกรณ์และเครื่องมือในการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงทุกหมู่บ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้การเรื่อง โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน การใช้อุปกรณ์และการแปรเครื่องมือคัดกรอง โดยทีม อสม (2) กิจกรรมคัดกรองสุขภาพโดยทีม จนท.และ อสม. (3) กิจกรรมรณรงค์และชักจูง/ติดตามกลุ่มเป้าหมายเพื่อตรวจคัดกรอง

ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน ได้แก่  1. กลุ่มเป้าหมายที่ไม่แน่นอน ทำให้การคัดกรองไม่ได้ร้อยละ 100  2. วิถีชีวิตของประชาชนต้องออกทำงานเช้า พบปะหรือคัดกรองช่วงสายๆ ทำให้ไม่สามารถคัดกรองเบาหวานด้วยการงดอาหารได้ทุกคน ซึ่งค่างดอาหารจะได้ค่าที่เที่ยงตรงกว่าไม่งด

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในสภาวการณ์ปัจจุบัน โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่เมื่อเป็นแล้วรักษาไม่หายขาด ยังคงอยู่ตลอดชีวิต บวกกับในยุคปัจจุบันที่ทุกคนทำงานแข็งขันกับเวลา ทำให้ก่อเกิดพฤติกรรมที่เน้นความสะดวกสบายจนลืมดูแลสุขภาพ ความเครียดที่ส่งผลโรค การกินที่ไม่ควบคุมปริมาณสารอาหารที่มีผลเสียต่อร่างกาย บริโภคอาหารไม่ถูกต้อง ยังพบการบริโภคอาหารที่มีรสเค็มมัน และหวานสาเหตุ คือ ความเคยชิน , ต้องประกอบอาชีพนอกบ้านไม่มีเวลาในการประกอบอาหารเองจึงหาซื้ออาหารสำเร็จรูป รวมถึงขาดการออกกำลังกายและไม่สามารถปรับพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกหลักได้อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ  ก่อให้เกิดโรคดรื้อรังตามมา หากไม่ได้รับการรักษาหรือได้รับการรักษาไม่ถูกต้องจะเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าคนไทยที่มีความดันโลหิตสูง เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด เกิดโรคไตวาย โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดส่วนปลาย และภาวะหัวใจล้มเหลวผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่ได้รับการรักษาเกือบครึ่งหนึ่งจะตายด้วยโรคหัวใจ ส่วนโรคเบาหวาน จะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนเบาหวานขึ้นตา ทำให้ตาบอด เกิดภาวะแทรกซ้อนตา ไตทำให้ไตวาย การถูกตัดอวัยวะ เป็นต้น ปัญหาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานที่พบบ่อยที่สุด คือการ ในปัจจุบัน โรคความดันโลหิตสูง/โรคเบาหวาน ในเขตบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านซาไก จำนวนได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงคิดเป็นร้อยละ 92.53 แต่อัตราการพบผู้ป่วยความดันโลหิตรายใหม่ร้อยละ 863.93/แสนประชากร และคัดกรองโรคเบาหวานคิดเป็นร้อย94.43 แต่อัตราการพบผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ร้อยละ 129.59 /แสนประชากร ซึ่งปัจจัยหนึ่งที่เราค้นพบคือ การคัดกรองที่ล่าช้าทำให้แก้ไขปัญหาช้า คุณภาพของการคัดกรอง อุปกรณ์ไม่เพียงพอและไม่ได้มาตรฐาน ในปีงบประมาณ 2564 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านซาไก จึงได้เน้นเรื่องการคัดกรองที่ไดคุณภาพ การดูแลที่ได้มาตรฐาน และการดำเนินงานที่รวดเร็วยิ่งขึ้นเพื่อการแก้ไขปัญหาได้ทัน ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ได้มาตรฐาน ชุมชนมีอุปกรณ์และเครื่องมือในการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงทุกหมู่บ้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้การเรื่อง โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน การใช้อุปกรณ์และการแปรเครื่องมือคัดกรอง โดยทีม อสม
  2. กิจกรรมคัดกรองสุขภาพโดยทีม จนท.และ อสม.
  3. กิจกรรมรณรงค์และชักจูง/ติดตามกลุ่มเป้าหมายเพื่อตรวจคัดกรอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 59
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ได้มาตรฐาน 2.ชุมชนมีอุปกรณ์และเครื่องมือในการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงทุกหมู่บ้าน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมคัดกรองสุขภาพโดยทีม จนท.และ อสม.

วันที่ 19 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดซื้ออุปกรณ์ เครื่องวัดความดันโลหิตให้แก่พื้นที่ จำนวน 4 เครื่อง ให้แก่ อสม.หมู่บ้านละ  1 เครื่อง
  • ลงพื้นที่คัดกรองประชาชนในกลุ่มเป้าหมาย อายุ 35 ปี ขึ้นไป ในพื้นที่รับผิดชอบ พร้อมแปลผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ทุกหมู่บ้านมีเครื่องวัดความดันหมู่บ้านละ 1 เครื่องพร้อมใช้งาน 2.สรุปคัดกรองกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ในปี 2564 ในกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป ดังนี้   2.1 จำนวนกลุ่มเป้าหมายคัดกรองโรคเบาหวาน ทั้งหมด 899 ราย คัดกรองแล้วจำนวน 876 ราย คิดเป็นร้อยละ  97.44 ยังไม่ได้คัดกรอง 23 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.56 พบเป็นกลุ่มเสี่ยง 99 ราย คิดเป็นร้อยละ 11.63 กลุ่มป่วย 48 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.34 ซึ่งเป็นรายใหม่ของปี 2 ราย   2.2 จำนวนกลุ่มเป้าหมายคัดกรองโรคเบาหวาน ทั้งหมด 791 ราย คัดกรองแล้วจำนวน 768 ราย คิดเป็นร้อยละ 97.09  ยังไม่ได้คัดกรอง 23 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.91 พบเป็นกลุ่มเสี่ยง 115 ราย คิดเป็นร้อยละ 14.54 กลุ่มป่วย 173 ราย คิดเป็นร้อยละ 21.87 ซึ่งเป็นรายใหม่ของปี 15 ราย

 

32 0

2. กิจกรรมรณรงค์และชักจูง/ติดตามกลุ่มเป้าหมายเพื่อตรวจคัดกรอง

วันที่ 19 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ลงพื้นที่คัดกรองประชาชนในกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไปในพื้นที่รับผิดชอบ พร้อมแปลผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ทุกหมู่บ้านมีเครื่องวัดความดันหมู่บ้านละ 1 เครื่องพร้อมใช้งาน 2.สรุปคัดกรองกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ในปี 2564 ในกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป ดังนี้   2.1 จำนวนกลุ่มเป้าหมายคัดกรองโรคเบาหวาน ทั้งหมด 899 ราย คัดกรองแล้วจำนวน 876 ราย คิดเป็นร้อยละ  97.44 ยังไม่ได้คัดกรอง 23 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.56 พบเป็นกลุ่มเสี่ยง 99 ราย คิดเป็นร้อยละ 11.63 กลุ่มป่วย 48 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.34 ซึ่งเป็นรายใหม่ของปี 2 ราย   2.2 จำนวนกลุ่มเป้าหมายคัดกรองโรคเบาหวาน ทั้งหมด 791 ราย คัดกรองแล้วจำนวน 768 ราย คิดเป็นร้อยละ 97.09  ยังไม่ได้คัดกรอง 23 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.91 พบเป็นกลุ่มเสี่ยง 115 ราย คิดเป็นร้อยละ 14.54 กลุ่มป่วย 173 ราย คิดเป็นร้อยละ 21.87 ซึ่งเป็นรายใหม่ของปี 15 ราย

 

0 0

3. อบรมให้ความรู้การเรื่อง โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน การใช้อุปกรณ์และการแปรเครื่องมือคัดกรอง โดยทีม อสม

วันที่ 21 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมการใช้เครื่องมือในการคัดกรอง เช่น เครื่องวัดความดัน เครื่องเจาะน้ำตาลในเลือด การวัดรอบเอว การชั่งน้ำหนัก และการแปรผลการใช้เครื่องมือ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลจากการอบรม การทำ Pre-test และ pos-test  ผลการดำเนินกิจกรรมการจัดอบรมในกลุ่มเป้าหมาย 27 คน ก่อนอบรมผู้เข้าร่วมอบรมมีระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 60 รองลงมาระดับดี คิดเป็นเป็นร้อยละ 30 และ ระดับน้อยคิดเป็นเป็นร้อยละ 10 หลัง การอบรมผู้เข้าอบรมมีความรู้ระดับดี คิดเป็นร้อยละ 83.33 รองลงมาระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 16.67 และระัดับน้อยคิดเป็นร้อยละ  0 สรุปหลังการจัดอบรม ผู้รับการอบรมมีความรู้ระดับดี หลังจากได้รับการอบรมทำให้มีความรู้เพิ่มขึ้น ซึ่งการอบรม จะต้องมีการฟื้นฟูอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากโรคมีการวิวัฒนาการไปเรือยๆ รูปแบบกิจกรรมครั้งนี้เป็นกิจกรรมทดสอบความรู้และการปฏิบัติและสาธิตย้อนกลับ เพื่อให้สามารถให้ความรู้แก่ชุมชน และสามารถไปคัดกรองประชากรในพืนที่และแปลผลได้อย่างถูกต้อง

 

27 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ได้มาตรฐาน ชุมชนมีอุปกรณ์และเครื่องมือในการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงทุกหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ได้มาตรฐานร้อยละ 90 ชุมชนมีอุปกรณ์และเครื่องมือในการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงทุกหมู่บ้านร้อยละ 100
0.00 59.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 59 59
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 59 59
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ได้มาตรฐาน ชุมชนมีอุปกรณ์และเครื่องมือในการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงทุกหมู่บ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้การเรื่อง โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน การใช้อุปกรณ์และการแปรเครื่องมือคัดกรอง โดยทีม อสม (2) กิจกรรมคัดกรองสุขภาพโดยทีม จนท.และ อสม. (3) กิจกรรมรณรงค์และชักจูง/ติดตามกลุ่มเป้าหมายเพื่อตรวจคัดกรอง

ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน ได้แก่  1. กลุ่มเป้าหมายที่ไม่แน่นอน ทำให้การคัดกรองไม่ได้ร้อยละ 100  2. วิถีชีวิตของประชาชนต้องออกทำงานเช้า พบปะหรือคัดกรองช่วงสายๆ ทำให้ไม่สามารถคัดกรองเบาหวานด้วยการงดอาหารได้ทุกคน ซึ่งค่างดอาหารจะได้ค่าที่เที่ยงตรงกว่าไม่งด

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

รหัสโครงการ 64-L4120-01-07 รหัสสัญญา 16/2564 ระยะเวลาโครงการ 1 ธันวาคม 2563 - 30 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการอบรมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4120-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมะยือรี หะแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด