กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลตรัง ปีงบประมาณ 2564
รหัสโครงการ 64-L3002-01-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตรัง
วันที่อนุมัติ 4 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2566 - 19 มิถุนายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 4 กรกฎาคม 2566
งบประมาณ 22,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายซัยฟุดดีน มะเร๊ะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 25 ม.ค. 2566 25 ก.พ. 2566 13,000.00
2 26 ก.พ. 2566 19 ก.ค. 2566 9,400.00
รวมงบประมาณ 22,400.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 82 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จังหวัดปัตตานี ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 4,376 ราย อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกต่อประชากรแสนคนเท่ากับ610.81อำเภอมายอ ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 41 ราย อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกต่อประชากรแสนคนเท่ากับ 67.32 ตำบลตรัง ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน6 ราย อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกต่อประชากรแสนคนเท่ากับ 189.04 จากข้อมูลดังกล่าว ตำบลตรังเป็นพื้นที่ ที่มีอัตราป่วยต่อแสนประชากรมากว่าค่าเฉลี่ยของอำเภอมายอ และเมื่อเปรีบบเทียบข้อมูลการป่วย ตำบลตรัง มีอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกต่อประชากรแสนคน มากกว่าสุดในอำเภอมายอ ซึ่งสาเหตุของการเกิดโรคไข้เลือดออกในตำบลตรัง 1.ครัวเรือนไม่มีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย เนื่องจากไม่เห็นความสำคัญและไม่เห็นประโยชน์ของการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย จึงทำให้โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลตรัง เล็งเห็นความสำคัญของการจัดทำโครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลตรัง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในตำบลตรัง

1.มีแผนการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายสัปดาห์ ละ 1 ครั้ง 2.เกิดคณะทำงานในการดำเนินการ

82.00 82.00
2 เพื่ิอควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดในตำบลตรัง

1.ไม่มีผู้ป่วยระบาดในพื้นที่ รัศมี 200 เมตร เป็นเวลา 28 วัน
2.มีทีมควบคุม โรคประจำหมู่บ้าน

40.00 40.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 122 22,400.00 2 22,400.00
16 ม.ค. 66 - 16 ก.พ. 66 อบรมให้ความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออก 82 13,000.00 13,000.00
17 ก.พ. 66 - 4 ก.ค. 66 จัดตั้งทีมควบคุมโรคไข้เลือดออกและดำเนินดำเนินการควบคุมโรคในพื้นที่ 40 9,400.00 9,400.00

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออก กิจกรรมที่ 2 จัดตั้งทีมควบคุมโรคไข้เลือดออกและดำเนินการควบคุมโรคในพื้นที่

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เกิดหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลายและลดการระบาดของโรคไข้เลือดออก

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ธ.ค. 2563 09:13 น.