กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการการป้องกันภาวะซีดหญิงในครรภ์ ปี 64
รหัสโครงการ L4145/05/64
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านกาตอง
วันที่อนุมัติ 9 พฤศจิกายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2564 - 31 มีนาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 สิงหาคม 2564
งบประมาณ 22,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวมาซีเต๊าะ เย๊ะ
พี่เลี้ยงโครงการ สอ.ยะหา
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.502,101.063place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
รวม 0 0.00 0 0.00

5.วิธีดำเนินการวิธีดำเนินการ (บรรยายเพิ่มเติม)       1. สำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์       2. ประชาสัมพันธ์โครงการ       3. ส่งเสริมความรู้ตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อ-แม่ โดยให้หญิงตั้งครรภ์และสามี เข้าร่วมอบรมพร้อมกัน และมุ่งเน้นความรู้ที่ป้องกันและแก้ไขภาวะโลหิตจาง และการมาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์
      4. ปรับพฤติกรรมการกินอาหาร ในแม่ที่มีภาวะแทรกซ้อน เช่น โลหิตจาง จะมุ่งเน้นให้สามีเป็นผู้นำในการปรับพฤติกรรมการกินอาหารในครอบครัว เช่น จัดเตรียมเมนูอาหารเสริมธาตุเหล็กให้ภรรยา
      5. ให้วิตามินเสริมธาตุเหล็กโดยให้สามีเป็นผู้คอยดูแลให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาอย่างต่อเนื่อง เช่น กระตุ้นเตือนกินยา จัดยาให้กินเมื่อถึงเวลา
    6. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยเชิญหญิงตั้งครรภ์และครอบครัว ที่สามารถแก้ไขภาวะโลหิตจางได้สำเร็จ มาเล่าเคล็ดลับดี ๆ ในการดูแลตนเองให้พ้นจากภาวะเลือดจางและสรุปบทเรียนที่ได้มาเป็นแนวทางปฏิบัติในการดูแลหญิงตั้งครรภ์     7.จัดทีมจิตอาสา ติดตามการรับประทานยาบำรุงเลือด 1 อาทิตย์ในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง     8.ติดตามและประเมินผล มอบประกาศนียบัตรแก่ครอบครัวหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่มีภาวะโลหิตจาง และ ทีมจิตอาสา

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความสามารถดูแลตนเองในระหว่างตั้งครรภ์ได้และมีความปลอดภัยจากภาวะโลหิตจาง
    2.อัตราการเกิดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ใกล้คลอดลดลง ไม่เกินร้อยละ 10
    3.มารดาคลอดทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ลดลงไม่เกินร้อยละ 7
    4.ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80     5.การจัดบริการให้สามีเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพมารดาและบุตรทำให้สามีมีความภาคภูมิใจที่มีส่วนทำให้ลูกในครรภ์มีความปลอดภัย และพึงพอใจในการบริการมากขึ้น       6.เครือข่าย อสม.มีความเข้มแข็งและสนับสนุนการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก อันส่งผลให้มารดาและทารกมีสุขภาพที่ดี ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย และไม่ตายสาเหตุที่ป้องกันได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 ธ.ค. 2563 13:16 น.