กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี


“ โครงการ อสม. Smart kids ปี 2560 ”

ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอฮานาเต็งมะ

ชื่อโครงการ โครงการ อสม. Smart kids ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 023/2560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อสม. Smart kids ปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม. Smart kids ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อสม. Smart kids ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 023/2560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็ก ทรัพยากรที่ทรงคุณค่า และเป็นอนาคตของชาติ ที่ควรได้รับการดูแลเลี้ยงดูให้ดีมีการเจริญเติบโตพัฒนาการสมวัย ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสติปัญญา ปัจจุบันมีแนวโน้มลดลงปัจจัยที่ส่งผลต่อเด็ก ได้แก่ ภาวะทุพโภชนาการ จากการรับประทานอาหารไม่เพียงพอ ต่อการเจริญเติมโตของร่างกายและการให้นมแม่อย่างเดียวไม่เพียงพอ เช่น ขาดสานอาหารชนิดโปรตีน วิตตามินสารไอโอดีนโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็กปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็กคือการกระตุ้น การกอด การแล่น และการเล่านิทานของผู้ดูแลเด็กตลอดจนการได้รับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กปฐมวัย อสม.ได้เล่งเห็นความสำคัญใน การดูแลเฝ้าระวังส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการการป้องกันโรคด้วงยการฉีดวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์ที่กำหนด ในเด็กปฐมวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ แกนนำและกลุ่มจิตอาสา. มีความรู้และความสามารถในการเฝ้าระวังประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็กปฐมวัย
  2. เพื่อเส่งเสริมให้ ผู้ดูแลมีความรู้และทัศนคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับพฤติกรรมบริโภตอาหารของเด็ก และสามารถเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
  3. เพื่อส่งเสริมให้ ผู้ดูแลมีความรู้ในการป้องกันโรคที่สามารถป้องกันด้วยการฉีดวัคซีนในเด็ก
  4. เพื่อให้เด็กได้รับการประเมินภาวะโภชนาการและได้รับอาหารที่มี ประโยชย์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 250
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 120
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    • แกนนำและกลุ่มจิตอาสา.สามารถประเมินภาวะโภชนาการและเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ได้ถูกต้อง ร้อยละ 80 -เด็ก 0 – 5 ปี ได้รับการประเมินภาวะโภชนาการและเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ ร้อยละ 80
    • เด็ก 0- 5 ปี ไม่ป่วยโดยโรคที่สามารถป้องกันได้โดยวัคซีน ร้อยละ 70 -เด็ก อายุ 0 – 5 ปี มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วนละเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการดูแลติดตาม ร้อยละ95

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพและฝึกทักษะการประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนาการ

    วันที่ 17 กรกฎาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    ฝึกทักษะการประเมินภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    50 0

    2. กิจกรรมติดตามให้ความรู้ในการประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็ก

    วันที่ 20 กรกฎาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ความรู้ในการประเมินพัฒนาการและโภชนาการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    70 0

    3. กิจกรรมชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงและสาธิตอาหารในชุมชน

    วันที่ 31 กรกฎาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    ชั่งน้ำหนักเด็ก0-5 ปี ในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    250 0

    4. กิจกรรมติดตามให้ความรู้ในการมารับวัคซีนในเด็ก ( ม.1,2 ,3,4และ ม.7 ) ต.กะรุบี

    วันที่ 22 สิงหาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ความรู้วัคซีน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    70 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    เด็ก0-5 ปี ได้รับการดูแลติดตามอย่างต่อเนื่องและมีสุขภาพที่ดี

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้ แกนนำและกลุ่มจิตอาสา. มีความรู้และความสามารถในการเฝ้าระวังประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็กปฐมวัย
    ตัวชี้วัด : แกนนำและกลุ่มจิคอาสา.มีความรู้เกิดทักษะ ในการประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนาการได้ ร้อยละ 80
    50.00

     

    2 เพื่อเส่งเสริมให้ ผู้ดูแลมีความรู้และทัศนคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับพฤติกรรมบริโภตอาหารของเด็ก และสามารถเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
    ตัวชี้วัด : -ผู้ดูแลมีความรู้และสามารถดูแลเด็กในการบริโภชอาหารที่ถูกต้อง ร้อยละ 70 - ผู้ดูแลมีความรู้และสามารถส่งเสริม และกระตุ้นพัฒนาการเด็กให้สมวัยได้ ร้อยละ 60
    70.00

     

    3 เพื่อส่งเสริมให้ ผู้ดูแลมีความรู้ในการป้องกันโรคที่สามารถป้องกันด้วยการฉีดวัคซีนในเด็ก
    ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลยินยอมให้บุตรหลานฉีดวัคซีนป้องกันโรค ร้อยละ 60
    70.00

     

    4 เพื่อให้เด็กได้รับการประเมินภาวะโภชนาการและได้รับอาหารที่มี ประโยชย์
    ตัวชี้วัด : เด็ก อายุ 0 – 5 ปี มีภาวะ โภชนาการดีแล เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาได้รับการดูแลติดตาม ร้อยละ 95
    250.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 370
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 250
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 120
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ แกนนำและกลุ่มจิตอาสา. มีความรู้และความสามารถในการเฝ้าระวังประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็กปฐมวัย (2) เพื่อเส่งเสริมให้ ผู้ดูแลมีความรู้และทัศนคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับพฤติกรรมบริโภตอาหารของเด็ก และสามารถเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (3) เพื่อส่งเสริมให้ ผู้ดูแลมีความรู้ในการป้องกันโรคที่สามารถป้องกันด้วยการฉีดวัคซีนในเด็ก (4) เพื่อให้เด็กได้รับการประเมินภาวะโภชนาการและได้รับอาหารที่มี ประโยชย์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ อสม. Smart kids ปี 2560 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 023/2560

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวรอฮานาเต็งมะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด