กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการจักสานคลุ้มปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ 2564
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มแม่บ้านจักสานคลุ้มบ้านวังตง ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
วันที่อนุมัติ 28 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.นางสาวอรุณี เกาะกลาง 2.นางสาวพา เกาะกลาง 3.นางสาวอนันตญา ชูขาว 4.นางอาตีเกาะ หะหัส 5.นางสาวกาญจนา พยัควัลย์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานแรงงานนอกระบบ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 28 ม.ค. 2564 30 ก.ย. 2564 20,000.00
รวมงบประมาณ 20,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 68 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดการขาดสภาพคล่องทางด้านการเงินของ ครอบครัวและชุมชน ทุกคนจะต้องปฏิบัติตามมาตรการของรัฐ ซึ่งส่วนใหญ่มุ่งเน้นให้ประชาชนพักอยู่กับบ้าน การประกอบอาชีพที่บ้านจึงเป็นช่องทางที่จะช่วยหาเงินมาใช้จ่ายในครอบครัวเช่นเดียวกับกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร บานวังตง ซึ่งมีอาชีพในการจักสานจากต้นคลุ้มเพื่อส่งจำหน่ายเป็นรายได้ของครอบครัวและชุมชน การที่เราทำงานที่อยู่กับหน้างานเป็นเวลานาน ๆ ก็อาจส่งผลกระทบกับสุขภาพไม่มากก็น้อย แต่ด้วยเหตุผลความจำเป็นทางด้านรายได้ บางคนอาจต้องทนฝืนเพื่อทำงาน ผลกระทบที่กล่าวถึงคือ การเกิดอาการบาดเจ็บ การปวดเมื่อยตลอดจนได้รับอุบัติเหตุต่าง ๆ จากการทำงาน จากการสำรวจภาวะสุขภาพของผู้ที่ทำหน้าที่จักสานจากต้นคลุ้ม บ้านวังตง จำนวน 15 คน พบว่า ผู้ประกอบอาชีพจักสานบ้านวังตง มีความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพคือความเสี่ยงที่เกิดจากท่าทางในการทำงานมากที่สุดจำนวน 12 ราย คิดเป็นร้อยละ 80 ของผู้ที่ตอบแบบสอบถาม ส่งผลกระทบทำให้เกิดอาการปวดคอมากที่สุดรองลงมา คือบริเวณบ่า/ไหล่ หลัง ส่วนบน/สะบัก หลังส่วนล่าง/เอว แขนส่วนบนสะโพกและต้นขา ทั้งนี้ แรงงานนอกระบบกลุ่ม อาชีพจักสาน บ้านวังตง ตำบลนาทอน มีค่าเฉลี่ยคะแนนความรอบรู้ในการจัดการอาชีวอนามัยก่อนการปฏิบัติการ เท่ากับ 1.27 (คะแนนเต็ม 3 คะแนน) โดยทั่วไป ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการทำงาน สามารถป้องกันได้ โดยการพฤติกรรมจากการทำงานให้ถูกต้อง การปรับสภาพแวดล้อม เช่นแสงสว่าง ให้เหมาะกับการทำงาน การยืดเหยียดผ่อนคลานหลังจากการทำงาน กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร จึงได้จัดทำโครงการเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพระดับตำบล ตำบลนาทอนขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขสามารถสำรวจข้อมูลความเสียงด้านสุขภาพเพื่อนำมาวางแผนในการแก้ปัญหาได้ โดย 1. จัดทำแบบสำรวจจำนวน 50 ชุด 2. บันทึกข้อมูลใน แอปพลิเคชั่นฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบ 3. วิเคราะห์ข้อมูล

สมาชิกกลุ่มแม่บ้านจักสานคลุ้มเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คน

0.00
2 อบรมให้ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพ ให้กับสมาชิกกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรจักสานคลุ้มบ้านวังตง

สมาชิกลุ่ม ฯ เข้าร่วมประชุม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80

0.00
3 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการออกกำลังกายืดเหยียดกล้ามเนื้อเพื่อผ่อนคลายการปวดเมื่อย จากการทำงาน

สมาชิกกลุ่มแม่บ้านจักสานคลุ้มเข้าร่วมกิจกรรม อย่างน้อย ร้อยละ 80

0.00
4 จัดแสงสว่างบริเวณหน้างานให้เพียงพอและเมาะสมกับการทำงาน (ไม่ใช้งบประมาณ)

สมาชิกกลุ่ม สามารถนั่งทำงานในบริเวณที่เหมาะสม

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 20,000.00 0 0.00
1 - 28 ก.พ. 64 สำรวจความเสี่ยงจากการทำงาน โดย อสอช. และตรวจสุขภาพสมาชิกกลุ่มแม่บ้านจักสานคลุ้ม 0 680.00 -
1 - 31 มี.ค. 64 อบรมให้ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพ 0 11,460.00 -
1 - 31 มี.ค. 64 ปรับสภาพแวดล้อม สถานที่ทำงานให้เหมาะสมกับการทำงาน 0 6,500.00 -
1 - 31 ส.ค. 64 เวทีแลกเปลี่ยนและประเมินผลการปรับเลี่ยนพฤติกรรมรายบุคคล 0 1,360.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 ม.ค. 2564 00:00 น.