กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กเพื่อแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด ปี 2560 ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางอโนชา เลาหวิริยานนท์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กเพื่อแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด ปี 2560

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4143-1-35 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กรกฎาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กเพื่อแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด ปี 2560 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กเพื่อแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กเพื่อแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4143-1-35 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กรกฎาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,825.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยภาคีเครือข่ายและชุมชนได้ตระหนักถึงความสำคัญภาวะโลหิตจางยังเป็นปัญหาสำคัญในประเทศไทยที่กำลังพัฒนา สารอาหารที่มีความสำคัญที่ทำให้เกิดภาวะโลหิตจางและพบได้บ่อยคือ การขาดธาตุเหล็ก เพราะธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการสังเคราะห์ฮีโมโกบินซึ่งทำหน้าที่จับกับออกซิเจนและส่งให้เซลล์ในร่างกาย หญิงมีครรภ์ ถ้าขาดธาตุเหล็กทำให้กำเนิดทารกนำหนักต่ำกว่าเกณฑ์และมีผลกระทบถึงพัฒนาการเด็กและสติปัญญาในการเรียนรู้ต่ำ ทั้งนี้ในช่วง 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ควรต้องมีระดับฮีโมโกบินไม่ต่ำกว่า 11 กรัมต่อเดซิลิตร และในช่วง 6 เดือนสุดท้ายของการตั้งครรภ์ ควรจะมีระดับไม่ต่ำกว่า 10 กรัมต่อเดซิลิตรภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ได้กำหนดโดยฮีโมโกบินไม่ต่ำกว่า 11กรัมต่อเดซิลิตร หรือฮีมาโตคริทไม่ต่ำกว่า 33 เปอร์เซนต์จากรางานของหรมอนามัยภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงมีครรภ์ มีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆจากร้อยละ 12.6 ในปี2542 เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.6 ในปี 2554 จากรายงานของศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา ในปี 2556 จังหวัดยะลา มีหญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดร้อยละ 15.1 ภาวะโลหิตจางทำให้เหน่อยง่าย วึ่งปกติในหญิงตั้งครรภ์ก็มักจะเหนื่อยง่ายอยู่แล้ว ต้องอุ้มลูกอุ้มรกที่อยู่ในท้อง เป็นน้ำหนักกว่าสิบกิโลกรัม หน้ามืด วิงเวียนศรีษะง่ายและหากเป็นรุนแรง ตามรายงานมีอาการทางสายตา อาจมองภาพไม่เห็นได้ จจากการที่เส้นประสาทตาบวม ในหญิงตั้งครรภ์หากเป็นปานกลางถึงรุนแรง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้เรื่องอันตรายของภาวะโลหิตจางพร้อมกับแนะนำการกินยาเสริมธาตุเหล็กสูงและอาหารที่กระตุ้นนมแม่ให้กับมารดาหลังคลอดและแม่อาสา

    วันที่ 16 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเรื่อง การดูแลตนเองในหญิงตั้งครรภ์, อาการผิดปกติที่ควรพบแพทย์, อาการที่พบบ่อยในหญิงตั้งครรภ์, อาหารสำหรับหญิงตั้งครรภ์, การบริหารร่างกายระหว่างตั้งครรภ์, การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่, การดูแลมารดาหลังคลอดและอาหารสำหรับมารดาให้นมบุตร

     

    40 40

    2. จัดทำทะเบียน เยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด

    วันที่ 30 พฤศจิกายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางมีแนวโน้มที่ดีขึ้นจากปี 59 คือ ซีดลดลง 

     

    0 20

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    จากการดำเนินงานตามโครงการกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดที่มีภาวะซีด คือค่า ฮีมาโตคริทต่ำกว่า 33 เปอร์เซ็นต์ จำนวน 40 คนและ แม่อาสา จำนวน 20 คน ได้รับการอบรมครบทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 และหญิงคลังคลอดที่มีภาวะซีด จำนวน 20 คน ได้รับการอบรมครบทุกคน ทุกคนให้ความสนใจโดยสังเกตจากการซักถาม ซึ่งจากการดำเนินงานตามโครงการพบว่า หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางไม่เกินร้อยละ 10 ลดลง หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ร้อยละ 60 เพิ่มขึ้น หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 60 เพิ่มขึ้น ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมลดลงไม่เกินร้อยละ 15 เพิ่มขึ้น หญิงหลังคลอดเล้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนร้อยละ 60 เพิ่มขึ้น 

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กเพื่อแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด ปี 2560 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L4143-1-35

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางอโนชา เลาหวิริยานนท์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด