กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชาวเกาะยอร่วมใจป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2564
รหัสโครงการ 64-L-5214-1-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะยอ
วันที่อนุมัติ 22 ธันวาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 4 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 29 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 177,325.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวอรวรรณ ทับทิมทอง
พี่เลี้ยงโครงการ -
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.163,100.542place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 4 ม.ค. 2564 30 ก.ย. 2564 177,325.00
2 0.00
3 0.00
รวมงบประมาณ 177,325.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 108 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1800 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด(คน)
72.25
2 ประชาชนในพื้นที่ขาดความรู้เรื่องไข้เลือดออก (ร้อยละ)
60.00
3 ความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะของโรคไข้เลือดออก
72.25

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เนื่องจากความรุนแรงของโรคไข้เลือดออกส่งผลต่อสุขภาพของผู้ป่วยเอง ชุมชน สังคม ตามลำดับ เพราะโรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุุมมาโดยตลอดและได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกได้ลดลงมาก แต่ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา ตำบลเกาะยอ พบอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ระหว่างปี 2561-2563 มีอัตราป่วยต่อแสนประชากร 97.47,195.51 และ72.25(เกณฑ์ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร) และพบผู้ป่วยไข้เลือดออก ในปี 2563 ตั้งแต่เดือนมกราคม ถึงเดือนตุลาคม 2563 จำนวน 3 ราย ผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 2 ราย เป็นผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกที่มีการป่วยติดต่อกันในระยะไม่เกิน 28 วัน จากปัญหาการแพร่ระบาดของไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไจปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโลกที่เปลี่ยนแปลง องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งดำเนิน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด

72.25 50.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนประชาชนที่มีความรู้เรื่องไข้เลือดออก (ร้อยละ)

ประชาชนมีความรู้เรื่องไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น

60.00 80.00
3 เพื่อลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะของโรคไข้เลือดออก (ร้อยละ)

ความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ อบต.เกาะยอ ลดลง

72.25 50.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
1 กิจกรรมประชุม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 25 625.00 1 625.00
15 ก.พ. 64 ประชุมเครือข่ายผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนและจัดทำแผนในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 25 625.00 625.00
2 กิจกรรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 83 2,075.00 0 0.00
25 ก.พ. 64 กิจกรรมให้ความรู้จิตอาสาการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือกออกในพื้นที่ 83 2,075.00 -
3 กิจกรรมรณรงค์และเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 108 104,975.00 0 0.00
26 ก.พ. 64 กิจกรรมรณรงค์สำรวจลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน จำนวน 4 ครั้ง 108 104,975.00 -

1.ประชุมเครือข่ายผู้เกี่ยวข้องใการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปีละ2 ครั้ง

2.จัดกิจกรรมสำรวจลูกน้ำยุงลายทุกหมู่บ้าน เดือนละ 1 ครีั้ง

3.จัดกิจกรรมพ่นสารเคมี(หมอกควัน)

4.สรุปผลกาทำกิจกรรมตามแผนการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุม ร้อยละ 90   2. ค่า Hi ไม่เกิน 5 ค่า ci =0   3. ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง ไม่พบผู้ป่วยรายใหม่

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 ม.ค. 2564 13:00 น.