กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสิ่งแวดล้อมดี ชีวีปลอดภัย ชมรม อสม.ม.8
รหัสโครงการ 64-L3346-2-28
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อสม.ม.8ตำบลบ้านพร้าว
วันที่อนุมัติ 1 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางกลอยใจ รัตนโกศัย
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาของขยะในชุมชนบ้านหน้าป่า หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านพร้าว ถือว่าเป็นปัญหาหยึ่งของการดำเนินชีวิตประจำวันของประชาชน และอัตราการเกิดโรคเรื้อรังของประชาชนก็เพิ่มมากขึ้น เป็นเพราะการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย ทาง ชมรม อสม หมู่ที่8 บ้านหน้าป่าเห็นความสำคัญของกิจกรรมคัดแยกขยะ และการทำน้ำหมักชีวภาพ เพราะ การปลูกผักสวนครัวและการเลี้ยงสัตว์ ส่งผลกระทบต่อผู้ผู้ผลิตโดยตรงซึ่งคนในชุมชนมีการเจ็บป่วย ระบบทางเดินหายใจและโรคผิวหนัง เช่น อาการแพ้และผื่นคันตามร่างกาย และยังมีสารพิษตกค้างในร่างกาย ที่อยู่ในข้าวและพืชผัก การใช้สารเคมในการทำเกษตร เช่นการใช้ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง หรืออื่นๆ ไม่พียงแต่ผู้ผลิตผู้บริโภคนั้น แต่ยังส่งผลกระทบต่อทรัพย์กรและสิ่งแวดล้อมในชุมชน เช่น ดิน แหล่งน้ำ พืช และสัตว์น้ำ ซึ่งหากคนในชุมชนยังขาดความรู้และตระหนักในปัญหาดังกล่าวแล้วผลกระทบที่เกิดขึ้นก็จะส่งผลกระทบในระยะยาว ดังนั้นการเสนอโครงการสิ่งแวดล้อมดี ชีวีปลอดภัย ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมย่อย คือ การอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ และการทำน้ำหมักชีวภาพ จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะให้คนในชุมชนได้มีความรู้ ความเข้าใจในการแยกขยะ และการลดการใช้สารเคมี กลับมาทำเกษตรอินทรีย์ ท่มีความปลอดภัย ไสู่ความมั่นคงทางด้านอาหารและสุขภาพของคนในชุมชน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 20,000.00 3 20,000.00
1 ม.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 1.อบรมให้ความรู้ 0 16,250.00 16,250.00
1 ม.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 2.กิจกรรมการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ -จัดซื้อต้นกล้า 0 2,500.00 2,500.00
1 ม.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมประกวดบ้าน ครัวเรือนต้นแบบการปลูกผักปลอดสารเคมีไว้บริโภคในครัวเรือน 0 1,250.00 1,250.00

1.เสนอโครงการเข้าสู่แผนสปสช 2.จัดทำแบบเสนอโครงการและจัดทำบันทึกข้อตกลง 3.ดำเนินการตามโครงการ 4.ติดตาม ประเมินผล และรายงานผล

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในชุมชนสามารถคัดแยกขยะได้ 2.ลดการเจ็บป่วยของประชาชนจากการเข้าร่วมโครงการ 3.ประชาชนในหมู่บ้านมีสุขภาพที่ดี ได้บริโภคผักที่ปลอดสารพิษ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ม.ค. 2564 10:14 น.