กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมการบริโภคอาหารปลอดภัย โรงเรียนอิสลามิยะฮ์สหวิทยา มูลนิธิ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน

โรงเรียนอิสลามิยะฮ์สหวิทยา มูลนิธิ

โรงเรียนอิสลามิยะฮ์สหวิทยา มูลนิธิ

โรงเรียนอิสลามิยะฮ์สหวิทยา มูลนิธิ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทำให้วิถีชีวิตของคนเราเปลี่ยนแปลงไปโดยเฉพาะอย่างยิ่งการบริโภคอาหารจากการปรุงเพื่อรับประทานเองที่บ้าน เปลี่ยนเป็นการบริโภคนอกบ้านหรือสั่งอาหารจากสื่อออนไลน์มากขึ้น จึงมีโอกาสเสี่ยงต่อการรับประทานอาหารที่ไม่สะอาดจากผู้จำหน่ายอาหารที่ขาดความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องการจำหน่ายอาหาร ซึ่งทำให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษสู่อาหารได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กนักเรียนซึ่งไม่มีความรู้ความเข้าใจ ในการเลือกบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย และยังไม่ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพตนเองอีกทั้งยังมีการบริโภคอาหารที่มีราคาถูก อร่อย และรวดเร็ว ฉะนั้น นักเรียนจึงมีโอกาสเสี่ยงต่อการรับประทานอาหารที่ไม่สะอาดปลอดภัยเนื่องจากการปนเปื้อนเชื้อโรคและปนเปื้อนสารเคมี และสารพิษลงในอาหารได้และนักเรียนก็ยังไม่มีความรู้ความเข้าใจในการเลือกบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย
ดังนั้นทางโรงเรียนอิสลามิยะฮ์สหวิทยา มูลนิธิ ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการอาหารปลอดภัยในโรงเรียนโดยการจัดกิจกรรมฝึกอบรม ให้ความรู้แก่ผู้จำหน่ายอาหารในโรงเรียนและมีการปลูกผักสวนครัวเพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรได้มีการบริโภคผักที่มีคุณภาพไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยมีสุขภาพอนามัยที่ดี นักเรียนครูบุคคลกรและชุมชนเพื่อนำความรู้ไปพัฒนาเผยแพร่ส่งผลถึงนักเรียนที่ได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้จำหน่ายอาหารในโรงเรียน ครูนักเรียนและชุมชน มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการสุขาภิบาลอาหารปลอดภัย

ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ความเข้าใจผ่านเกณฑ์  ร้อยละ 85

0.00
2 ผู้เข้ารับการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายและบริโภคอาหารอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ

เพื่อให้ผู้จำหน่ายอาหารมีการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพ ร้อยละ 80

0.00
3 ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำไปปฏิบัติและเผยแพร่แก่ผู้อื่น

เพื่อให้ผู้เข้าอบรมนำไปปฏิบัติและเผยแพร่ผู้อื่นได้ ร้อยละ 85

0.00
4 เพื่อจัดทำปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยเปียกจากเศษอาหารและวัชพืช

นักเรียนจัดทำปุ๋ยชีวภาพ จากเศษอาหารและวัชพืช

0.00
5 เพื่อนักเรียน ครู บุคคลกรและชุมชนได้บริโภคผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัย มีสุขภาพอนามัยที่ดี

นักเรียน ครู สามารถปลูกผักเพื่อลดการปนเปื้อนสารเคมีเองได้ร้อยละ 90

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 จัดกิจกรรม ตรวจสอบอาหารตามหลักโภชนาการ 1.2 กิจกรรม จัดทำปุ๋ยชีวภาพ /ปุ๋ยพืชสด จากเศษอาหาร และวัชพืชในโรงเรียน 1.3 ปลูกผักสวนครัว  /เพาะเห็ดนางฟ้า

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหาร และการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยเพิ่มขึ้น
  2. ผู้เข้าอบรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายอาหารและการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย
  3. ผู้เข้าอบรมมีการถ่ายทอดความรู้สู่ผู้อื่นได้อย่างถูกต้องและครอบคลุมทั้งโรงเรียน ที่บ้าน และชุมชน
  4. มีเครือข่ายดำเนินกิจกรรมอาหารปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง
  5. ปริมาณขยะจากขนมผสมเครื่องปรุงรสและอาหารไม่มีประโยชน์ในโรงเรียนลดน้อยลง
  6. ใช้ปุ๋ยชีวภาพทดแทนปุ๋ยเคมีในโรงเรียนร้อยละ 85
  7. นักเรียนครูและชุมชน มีผักปลอดสารพิษบริโภคร้อยละ 85 1.ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ 85 คน x 50 บ. = 4,250 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม1มื้อ 85 คน x 25 บ.= 2,125 บ 3.ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คนๆละ 2 ช.ม.ๆละ 600 บาท = 2,400 บาท 4.ค่าจัดทำป้ายโครงการ= 600 บาท 5.เครื่องเขียนแบบสิ่งพิมพ์/ป้ายนิเทศ /แผ่นพับ= 675 บาท 6.ค่าวัสดุ /อุปกรณ์ =1,500 บาท 7.ค่าอุปกรณ์=500 บาท 8.ค่าพันธุ์ผัก ต้นกล้า =1,000 บาท 9.ค่าจัดทำแปลงผัก/วัสดุอื่นๆ= 1,950 บาท
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหาร และการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยเพิ่มขึ้น
2. ผู้เข้าอบรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายอาหารและการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย
3. ผู้เข้าอบรมมีการถ่ายทอดความรู้สู่ผู้อื่นได้อย่างถูกต้องและครอบคลุมทั้งโรงเรียน ที่บ้าน และชุมชน
4. มีเครือข่ายดำเนินกิจกรรมอาหารปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง
5. ปริมาณขยะจากขนมผสมเครื่องปรุงรสและอาหารไม่มีประโยชน์ในโรงเรียนลดน้อยลง
6. ใช้ปุ๋ยชีวภาพทดแทนปุ๋ยเคมีในโรงเรียนร้อยละ 85
7. นักเรียนครูและชุมชน มีผักปลอดสารพิษบริโภคร้อยละ 85


>