กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านซีเยาะ ปี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านซีเยาะ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านซีเยาะ ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กก่อนวัยเรียน (2-4 ปี)ที่ไม่รับประทานอาหารเช้า

 

50.00
2 ร้อยละของเด็กก่อนวัยเรียน (2-4 ปี) ไม่รับประทานกับข้าว

 

62.00
3 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีเครื่องชั่งนำ้หนัก ที่วัดส่วนสูงไม่มีมาตรฐาน

 

100.00

ปัจจุบันการใช้ชีวิตประจำวันที่เร่งรีบจากผู้ปกครองและเด็กนักเรียนทำให้การรับประทานอาหารแต่ละมื้อถูกละเลยโดยเฉพาะอาหารเช้าส่วนใหญ่จะเป็นอาหารประเภทขนมกรุบกรอบ ลูกชิ้น ไส้กรอก ซึ่งไม่มีคุณค่าทางโภชนาการทำให้เด็กเบื่ออาหารและบางคนไม่ได้รับประทานอาหารเช้าปล่อยให้เป็นหน้าที่ของครู
จากการสำรวจในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กพบว่าร้อยละ 13.75 ที่มีการทุกพุทภโชนาการ(ผอม-เตี้ย) ร้อยละ 50 ของเด็กที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้าและไม่รับประทานอาหารและกับข้าว ซึ่งสำรวจการเจริญเติบโตของเด็กและพัฒนาการสมอง
จากเหตุผลดังกล่าวศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านซีเยาะ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านซีเยาะ ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีได้รับโภชนาการทางด้านอาหารและมีการติดตามผลอย่างใกล้ชิด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อลดเด็กก่อนวัยเรียน (2-4 ปี) ที่มีภาวะ ผอม เตี้ย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

เด็กก่อนวัยเรียน (2-4 ปี) มีภาวะผอม เตี้ย ดีขึ้น

11.00 6.00
2 2.เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียน (2-4 ปี)ได้รับประทานอาหารเช้าคุณค่าทางโภชนาการ

เด็กก่อนวัยเรียน(2-4 ปี) ได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางโภชนาการที่ดีขึ้น

40.00 20.00
3 เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียน (2-4 ปี) ประทานกับข้าวที่หลากหลาย

เด็กก่อนวัยเรียน(2-4 ปี) ได้รับประทานอาหาร 5 หมู่

40.00 20.00
4 เพื่อศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีเครื่องชั่งนำ้หนัก วัดส่วนสูงทีมีมาตรฐาน

เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีเครื่องติดตาม ภาวะโภชนาการทีมีมาตรฐาน

100.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอาหารเสริมให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ผอม - เตี้ย )

ชื่อกิจกรรม
จัดอาหารเสริมให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ผอม - เตี้ย )
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารเสริม จำนวน 11 คนๆ ละ 15 บาทจำนวน 60 วัน เป็นเงิน 9,900 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2021 ถึง 30 กันยายน 2021
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กมีภาวะ ผอม - เตี้ย มีจำนวนลดลงคิดเป็นร้อยละ 50

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9900.00

กิจกรรมที่ 2 การเฝ้าระวังติดตามเจริมเติบโตด้วยครูผู้ดูแลเด็ก

ชื่อกิจกรรม
การเฝ้าระวังติดตามเจริมเติบโตด้วยครูผู้ดูแลเด็ก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดทำทะเบียน/บัญชี่เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ
2.จัดหาที่ชั่งน้ำหนัก เครื่องวัดส่วนสูงที่ได้มีมาตรฐาน (ดิจีตอล) จำนวน 1 เครื่อง เป็นเงิน 12,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2021 ถึง 30 กันยายน 2021
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กมีการเจริญเติบโตเต็มวัยและมีภาวะทุพโภชนาการ (ผอม-เตี้ย)ลดลง คิดเป็นร้อยละ 50

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12000.00

กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมให้เด็กได้รับประทานอาหารและกับข้าวที่หลากหลาย

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมให้เด็กได้รับประทานอาหารและกับข้าวที่หลากหลาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดซื้อวิตามินเจริญอาหารจำนวน 40 ขวดๆละ 120 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท 2.จัดซื้ออาหารเช้าที่มีคุณค่าทางโภชนาการ จำนวน 40 คนๆ ละ 10 บาท จำนวน 60 วัน เป็นเงิน 24,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2021 ถึง 30 กันยายน 2021
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 50 ของเด็กที่ไม่รับประทานอาหารและกับข้าวมีการเจรฺิญอาหารและได้รับประทานอาหารและกับข้าวที่หลากหลายซึ่งจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตเต็มวัย
ร้อยละ 100 ของเด็กที่ไม่รับประทานอาหารเช้าได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ทำให้เด็กได้รับสารอย่างครบถ้วน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
28800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 50,700.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กก่อนวัยเรียน (2-4 ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีภาวะโภชนาการดีขึ้น ภาวะ ผอม เตี้ย ลดลง
2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีเครื่องชั่งนำ้หนัก ที่วัดส่วนสูงที่มีมาตรฐาน
3. เด็กก่อนวัยเรียน (2-4 ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับประทานอาหารเช้าคุณค่าทางโภชนาการทุกคน
4. เด็กก่อนวัยเรียน (2-4 ปี)ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการเจริญอาหารและได้รับประทานอาหารและกับข้าวที่หลากหลายและมีคุณค่าทางโภชนาการ


>