กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านซีเยาะ ปี 2564
รหัสโครงการ 64-L4147-03-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านซีเยาะ
วันที่อนุมัติ 16 กุมภาพันธ์ 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 50,700.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสุภาวดี ซันตายา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กก่อนวัยเรียน (2-4 ปี)ที่ไม่รับประทานอาหารเช้า
50.00
2 ร้อยละของเด็กก่อนวัยเรียน (2-4 ปี) ไม่รับประทานกับข้าว
62.00
3 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีเครื่องชั่งนำ้หนัก ที่วัดส่วนสูงไม่มีมาตรฐาน
100.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันการใช้ชีวิตประจำวันที่เร่งรีบจากผู้ปกครองและเด็กนักเรียนทำให้การรับประทานอาหารแต่ละมื้อถูกละเลยโดยเฉพาะอาหารเช้าส่วนใหญ่จะเป็นอาหารประเภทขนมกรุบกรอบ ลูกชิ้น ไส้กรอก ซึ่งไม่มีคุณค่าทางโภชนาการทำให้เด็กเบื่ออาหารและบางคนไม่ได้รับประทานอาหารเช้าปล่อยให้เป็นหน้าที่ของครู จากการสำรวจในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กพบว่าร้อยละ 13.75 ที่มีการทุกพุทภโชนาการ(ผอม-เตี้ย) ร้อยละ 50 ของเด็กที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้าและไม่รับประทานอาหารและกับข้าว ซึ่งสำรวจการเจริญเติบโตของเด็กและพัฒนาการสมอง จากเหตุผลดังกล่าวศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านซีเยาะ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านซีเยาะ ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีได้รับโภชนาการทางด้านอาหารและมีการติดตามผลอย่างใกล้ชิด

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อลดเด็กก่อนวัยเรียน (2-4 ปี) ที่มีภาวะ ผอม เตี้ย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

เด็กก่อนวัยเรียน (2-4 ปี) มีภาวะผอม เตี้ย ดีขึ้น

11.00 6.00
2 2.เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียน (2-4 ปี)ได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางโภชนาการ

เด็กก่อนวัยเรียน(2-4 ปี) ได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางโภชนาการที่ดีขึ้น

40.00 20.00
3 เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียน (2-4 ปี) ได้รับประทานกับข้าวที่หลากหลาย

เด็กก่อนวัยเรียน(2-4 ปี) ได้รับประทานอาหาร 5 หมู่

40.00 20.00
4 เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีเครื่องชั่งนำ้หนัก วัดส่วนสูงทีมีมาตรฐาน

เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีเครื่องติดตาม ภาวะโภชนาการทีมีมาตรฐาน

100.00 100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 50,700.00 0 0.00
1 มี.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 จัดอาหารเสริมให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ผอม - เตี้ย ) 0 9,900.00 -
1 มี.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 การเฝ้าระวังติดตามเจริมเติบโตโดยครูผู้ดูแลเด็ก 0 12,000.00 -
1 มี.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 ส่งเสริมให้เด็กได้รับประทานอาหารและกับข้าวที่หลากหลาย 0 28,800.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กก่อนวัยเรียน (2-4 ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีภาวะโภชนาการดีขึ้น ภาวะ ผอม เตี้ย ลดลง
  2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีเครื่องชั่งนำ้หนัก ที่วัดส่วนสูงที่มีมาตรฐาน
  3. เด็กก่อนวัยเรียน (2-4 ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับประทานอาหารเช้าคุณค่าทางโภชนาการทุกคน
  4. เด็กก่อนวัยเรียน (2-4 ปี)ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการเจริญอาหารและได้รับประทานอาหารและกับข้าวที่หลากหลายและมีคุณค่าทางโภชนาการ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 ก.พ. 2564 16:46 น.