กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าชิง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชุมชนใส่ใจสุขภาพผู้บริโภค 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าชิง

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลป่าชิง

1.นายพัลลภศรีบัณฑิต
2.นางหนูกิ่งมณี
3.นายอาชีพหมัดโส๊ะ
4.นางสาวประคองฤทธิ์ไกร
5.นายศักดิ์ศิลป์หมะขะเหร็ม

หมู่ที่1-หมู่ที่9 ตำบลป่าชิง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่(คน)

 

0.00
2 ร้อยละของร้านอาหาร/แผงลองจำหน่ายอาหารผ่านมาตรฐาน Clean Food Good Taste

 

0.00
3 ร้อยละของแผงลอยจำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร

 

20.00
4 ร้อยละของร้านชำ ผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว

 

20.00

ด้วยกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพเช่น อาหารยาเครื่องสำอางรวมทั้งอาหารเสริมในร้านชำ วัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริโภคในชุมชนเนื่องจากพบว่าในหมู่บ้านยังพบว่ามีร้านค้าในชุมชนหรือรถเร่นำสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐานไม่มีฉลากภาษาไทยมาจำหน่ายแก่ชาวบ้านประกอบกับในปัจจุบันมีการโฆษณาชวนเชื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพเกินจริงผู้บริโภคที่ขาดความรู้ในการบริโภคอาจตกเป็ฯเหยื่อหรือเกิดอันตรายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานการหลงเชื่อโฆษณาดังกล่าว

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 จำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่(คน)

เพิ่มจำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่(คน)

0.00 80.00
2 ร้อยละของร้านอาหาร/แผงลองจำหน่ายอาหารผ่านมาตรฐาน Clean Food Good Taste

เพื่อเพิ่มร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร

0.00 80.00
3 ร้อยละของแผงลอยจำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร

เพิ่มจำนวนแผงลอยจำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร

20.00 80.00
4 ร้อยละของร้านชำ ผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว

เพิ่มร้านชำที่ผานเกณฑ์ร้านชำติดดาว

20.00 40.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 122
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน  18  คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องได้มีแผนการในการดำเนินงาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
450.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่

ชื่อกิจกรรม
อบรมอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน  51  คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ  ละ  25 บาท  เป็นเงิน   2,550 บาท
2.ค่าอาหารหลางวันและเครื่องดื่ม  จำนวน  51  คน ๆ ละ 1  มื้อ ๆ ละ 50 บาท  เป็นเงิน 2,550  บาท
3.ค่าตอบแทนวิทยากร  จำนวน 6 ชม. ๆ ละ 600 บาท  เป็นเงิน  3,600 บาท
4.ค่าวัสดุ/เอกสารการอบรม  จำนวน  51 ชุด ๆ ละ 50 บาท  เป็นเงิน  2,550 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

อาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคได้รับความรู้สามารถนำมาปฏิบัติได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11250.00

กิจกรรมที่ 3 ประชุมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ชื่อกิจกรรม
ประชุมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน71คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 3,550 บาท
2.ค่าอาหารกลางวสันและเครื่องดื่มจำนวน 71 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 3,550 บาท
3.ค่าตอบปทนวิทยากรจำนวน6ชม. ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน3,600 บาท
4.ค่าวัสดุ/เอกสารการอบรมจำนวน 71 ชุด ๆ ละ 50 บาทเป็นเงิน3,550 บาท
5.ผ้ากันเปื้อนพร้อมหมวกจำนวน24ชุด ๆ ละ 150 บาทเป็นเงิน3,600บาท
6.ค่าป้ายไนิลโครงการเป็นเงิน375บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ประกอบการร้านค้า/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  ได้รับความรู้จากการอบรม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
18225.00

กิจกรรมที่ 4 ตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ชื่อกิจกรรม
ตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าชุดอุปกรณ์ทดสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (SI2) จำนวน  2  ชุด ๆ ละ 1,550 บาท  เป็นเงิน  3,100 บาท
2.น้ำยาตรวจโคลิฟอร์มแบคทีเรีย  (SI2)  จำนวน  4  ลัง ๆ ละ 1,200 บาท  เป็นเงิน  4,800 บาท
3.ค่าตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร  เป็นเงิน  3,000 บาท
4.ค่าป้ายสัญลักษณ์อาหารสะอาด  รสชาติอร่อย  (CFGT)  จำนวน  13  ป้าย ๆ ละ 200 บาท  เป็นเงิน  2,600 บาท
5.ค่าป้ายสัญลักษณ์ร้านชำติดดาว  จำนวน  20  ป้าย ๆ ละ 200 บาท  เป็นเงิน 4,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้านค้าได้รับการประเมินและทำให้น่าเชื่อถือ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
17500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 47,425.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ร้อยละ 80 ของจำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่(คน)ผ่านการอบรมและสามารถตรวจร้านได้
2.ร้อยละ80ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร ผ่านมาตรฐาน Clean Food Good Taste
3.ร้อยละ80 แผงลอยจำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร
4.ร้อยละ 40 ของร้านชำ ผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว


>