กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนใส่ใจสุขภาพผู้บริโภค 2564
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลป่าชิง
วันที่อนุมัติ 31 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 47,425.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสมใจ ปานซ้าย
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (47,425.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 122 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่(คน)
0.00
2 ร้อยละของร้านอาหาร/แผงลองจำหน่ายอาหารผ่านมาตรฐาน Clean Food Good Taste
0.00
3 ร้อยละของแผงลอยจำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร
20.00
4 ร้อยละของร้านชำ ผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว
20.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพเช่น อาหารยาเครื่องสำอางรวมทั้งอาหารเสริมในร้านชำ วัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริโภคในชุมชนเนื่องจากพบว่าในหมู่บ้านยังพบว่ามีร้านค้าในชุมชนหรือรถเร่นำสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐานไม่มีฉลากภาษาไทยมาจำหน่ายแก่ชาวบ้านประกอบกับในปัจจุบันมีการโฆษณาชวนเชื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพเกินจริงผู้บริโภคที่ขาดความรู้ในการบริโภคอาจตกเป็ฯเหยื่อหรือเกิดอันตรายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานการหลงเชื่อโฆษณาดังกล่าว

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 จำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่(คน)

เพิ่มจำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่(คน)

0.00 80.00
2 ร้อยละของร้านอาหาร/แผงลองจำหน่ายอาหารผ่านมาตรฐาน Clean Food Good Taste

เพื่อเพิ่มร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร

0.00 80.00
3 ร้อยละของแผงลอยจำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร

เพิ่มจำนวนแผงลอยจำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร

20.00 80.00
4 ร้อยละของร้านชำ ผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว

เพิ่มร้านชำที่ผานเกณฑ์ร้านชำติดดาว

20.00 40.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 47,425.00 0 0.00
??/??/???? ประชุมคณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน 0 450.00 -
??/??/???? อบรมอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ 0 11,250.00 -
??/??/???? ประชุมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 0 18,225.00 -
??/??/???? ตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 0 17,500.00 -

1.ประชุมคณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
2.อบรมอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่
3.ประชุมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละ 80 ของจำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่(คน)ผ่านการอบรมและสามารถตรวจร้านได้
2.ร้อยละ80ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร ผ่านมาตรฐาน Clean Food Good Taste
3.ร้อยละ80 แผงลอยจำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร
4.ร้อยละ 40 ของร้านชำ ผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 เม.ย. 2564 10:01 น.