กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โคกม่วง สุขภาพจิพ เข้มแข็ง ปี๖๕

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 7 ตำบลตุยง

1. นางสาวฮาลีเมาะ อีซอ
2. นายสะมะแอ บือราเฮง
3. นางเจะบีเดาะ เจะสู
4. นางหาสนะ อีซอ
5. นางหายีซะ ปะดอเงาะ

หมู่ที่ 7 บ้านโคกม่วง ต.ตุยง อ.หนองจิก จ.ปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานคนพิการ , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน(คน)

 

1.00
2 ร้อยละคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ

 

0.00
3 ร้อยละของครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา

 

100.00
4 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

18.00
5 ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

 

16.67

จากการประเมินความเครียดในทุกๆปีพบว่าประชาชนมีภาวะซึมเศร้า ปัญหาสุขภาพจิตในพื้นที่เพิ่มขึ้นสาเหตุเกิดจากปัญหาผู้สูงอายุอยู่บ้านตามลำพังไม่มีคนดูแล เป็นอันดับ 1 ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง อันดับ 2 รองลงมาเป็นปัญหาโรคระบาดโควิด-19 ปัญหาโรคประจำตัว และปัญหาเศรษฐกิจ ตามลำดับ ในพื้นที่พบว่าผู้สูงอายุที่อยู่ตามลำพังมีปัญหาภาวะซึมเศร้า และในกลุ่มของผู้สูงอายุพบว่าร้อยละ ๖0.7 เป็นผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ
ชมรมอาสาสมครสาธารสุข บ้านโคกม่วง หมู่ที่ 7เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาจึงได้จัดทำโครงการสุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจในชุมชนปี ๒๕๖๕ เพื่อจะได้ดูแลและเฝ้าระวังให้คำแนะนำเป็นที่ปรึกษาให้แก่กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง สร้างกระแสให้เขาเกิดความไว้วางใจในการดูแลอาใจใส่กลุ่มเสี่ยงและทำกิจกรรมเพื่อลดปัญหาการเกิดโรคทางจิต และฟื้นฟูสภาพจิตใจให้ดีขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุ ผู้มีภาวะพึ่งพิง และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ให้มีความรู้สามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้มีภาวะพึ่งพิง ตนเอง ครอบครัวและประชาชนในชุมชนให้มีสุขภาพจิตที่ดี

ร้อยละ 90 ของผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้มีภาวะพึ่งพิง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้ สามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้มีภาวะพึ่งพิง ได้

91.00 82.00
2 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพจิตและการป้องกันปัญหาสุขภาพจิต.

ร้อยละ95 ของครัวเรือนในพื้นที่สามารถแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพจิตด้วยตนเองและมีส่วนร่วมในการป้องกันปัญหาสุขภาพจิต

140.00 133.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 14
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 7
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 พัฒนาศักยภาพ สร้างเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุผู้มีภาวะพึ่งพิง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาศักยภาพ สร้างเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุผู้มีภาวะพึ่งพิง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมสมาชิกชมรม เครือข่ายดูแลผู้สูงอายุ ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในพื้นที่ถึงปัญหาสุขภาพจิตแก่ประชาชนในพื้นที่ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒๕ บ. X 40 มื้อ    เป็นเงิน    1000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2565 ถึง 30 เมษายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • เกิดการรับรู้ร่วมกัน
  • เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่มีการพัฒนาทักษะ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

กิจกรรมที่ 2 พัฒนาองค์ความรู้การดูแลผู้สูงอายุ ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาองค์ความรู้การดูแลผู้สูงอายุ ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดอบรมแกนนำครอบครัว เครือข่ายดูแลผู้สูงอายุ ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง - ค่าวิทยากร 4 ชม x 600 บ.   เป็นเงิน  2,400  บ. - ค่าอาหารกลางวันพร้อมน้ำดื่ม  60 บ. x 60 คน  เป็นเงิน  3,600 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  35 บ.x 60 คน x 2 มื้อ  เป็นเงิน  4200 บาท - ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ 1 ผืน  เป็นเงิน  720 บ. - ค่าวัสดุอื่นๆ     1580  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2565 ถึง 30 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • เครือข่ายสุขภาพมีองค์ความรู้และสามารถนำไปใช้ได้ดีขึ้น
  • มีการถ่ายทอดเผยแพร่่ความรู้ในชุมชน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12500.00

กิจกรรมที่ 3 รุกชุมชน เยี่ยมบ้าน

ชื่อกิจกรรม
รุกชุมชน เยี่ยมบ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รุกชุมชน เยี่ยมบ้าน คัดกรองความเครียดตรวจสุขภาพเบื้องต้นในผู้สูงอายุ ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง หรือผู้มีโรคประจำตัว และประชุมถอดบทเรียนผลการดำเนินงาน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  25 บ.x 60 มื้อ  เป็นเงิน 1,500  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • กลุ่มเป้าหมายเกิดความพึงพอใจ
  • กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :
1. สร้างเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุ ผู้มีภาวะพึ่งพิง และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- ประชุมสมาชิกชมรม เครือข่ายดูแลผู้สูงอายุ ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในพื้นที่ถึงปัญหาสุขภาพจิตแก่ประชาชนในพื้นที่
2. พัฒนาองค์ความรู้การดูแลผู้สูงอายุ ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- จัดอบรมแกนนำครอบครัว เครือข่ายดูแลผู้สูงอายุ ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
3. รุกบ้านเยี่ยมผู้สูงอายุ ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง และผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน
- เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้ที่มีปัญหาทางสุขภาพ
4. สรุปและประเมินผลโครงการ

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>