กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โคกม่วง สุขภาพจิพ เข้มแข็ง ปี๖๕
รหัสโครงการ 65-L3065-2-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 7 ตำบลตุยง
วันที่อนุมัติ 17 กุมภาพันธ์ 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2565
งบประมาณ 15,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวฮาลีเมาะ อีซอ
พี่เลี้ยงโครงการ นายมะรอกี เวาะเล็ง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.851129,101.196234place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานคนพิการ , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 70 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 14 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 7 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน(คน)
1.00
2 ร้อยละคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ
0.00
3 ร้อยละของครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา
100.00
4 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
18.00
5 ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
16.67

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุ ผู้มีภาวะพึ่งพิง และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ให้มีความรู้สามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้มีภาวะพึ่งพิง ตนเอง ครอบครัวและประชาชนในชุมชนให้มีสุขภาพจิตที่ดี

ร้อยละ 90 ของผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้มีภาวะพึ่งพิง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้ สามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้มีภาวะพึ่งพิง ได้

91.00 82.00
2 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพจิตและการป้องกันปัญหาสุขภาพจิต.

ร้อยละ95 ของครัวเรือนในพื้นที่สามารถแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพจิตด้วยตนเองและมีส่วนร่วมในการป้องกันปัญหาสุขภาพจิต

140.00 133.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 15,000.00 3 15,000.00
1 มี.ค. 65 - 30 เม.ย. 65 พัฒนาศักยภาพ สร้างเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุผู้มีภาวะพึ่งพิง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0 1,000.00 1,000.00
1 เม.ย. 65 - 30 มิ.ย. 65 พัฒนาองค์ความรู้การดูแลผู้สูงอายุ ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0 12,500.00 12,500.00
1 ก.ค. 65 - 30 ก.ย. 65 รุกชุมชน เยี่ยมบ้าน 0 1,500.00 1,500.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1. สร้างเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุ ผู้มีภาวะพึ่งพิง และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
  - ประชุมสมาชิกชมรม เครือข่ายดูแลผู้สูงอายุ ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในพื้นที่ถึงปัญหาสุขภาพจิตแก่ประชาชนในพื้นที่ 2. พัฒนาองค์ความรู้การดูแลผู้สูงอายุ ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
  - จัดอบรมแกนนำครอบครัว เครือข่ายดูแลผู้สูงอายุ ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 3. รุกบ้านเยี่ยมผู้สูงอายุ ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง และผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน   - เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้ที่มีปัญหาทางสุขภาพ
4. สรุปและประเมินผลโครงการ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ก.พ. 2565 12:13 น.