กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง รหัส กปท. L7161

อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการรวมพลังชุมชนป้องกันโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2566
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
กลุ่มคน
อสม.เครือข่ายศูนย์บริการสาธารณสุขเมืองกิโลเมตรที่ 3 โรงพยาบาลเบตง
กลุ่มคน (ระบุ 5 คน)
1. นายอับดุลซอมะ แดบ็อกโทร 0987274849
2. นายมาโซ มะดะฮู โทร 0842142859
3. นายจิตรภณ บุญเกิดโทร 0650497364
4. นางจรรยา บากาโทร 0883962162
5. นางสิทธิสา มะราฮิงโทร 0937871042
3.
หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อโดยมียุงลายเป็นพาหะ ที่สร้างความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการักษาพยาบาลและความสูญเสีย ทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ กองโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรคได้ติดตามสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย พบว่ามีอุบัติการณ์ต่ำกว่าค่ามัธยฐาน ๕ ปี ย้อนหลังอย่างต่อเนื่อง มาเป็นเวลาเกือบ ๒ ปี (พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๔) จึงมีโอกาสที่ในปี พ.ศ.๒๕๖๕ จะเกิดการระบาดมากขึ้น ซึ่งคาดการณ์ว่าตลอดทั้งปีอาจมีผู้ป่วยสูงถึง ๙๕,๐๐๐ ราย โดยในช่วงไตรมาสแรกของปีมีแนวโน้ม พบจำนวนผู้ป่วยประมาณ ๓,๐๐๐ – ๔,๐๐๐ รายต่อเดือน และเริ่มสูงขึ้นในเดือนพฤษภาคม จนสูงที่สุดประมาณ ๑๐,๐๐๐ – ๑๖,๐๐๐ รายต่อเดือนในช่วงฤดูฝน (เดือนมิถุนายน – กันยายน) ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การทีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเองพร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน โรงเรียน ศาสนสถาน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่องจึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ PCU กม.3 แกนนำสุขภาพ มีประชากรในเขตพื้นที่จำนวนชุมชนมีประชากร ทั้งหมด 9,233 คน จำนวนบ้านทั้งหมด 2,826 ครัวเรือน เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก จะเห็นได้ว่ายังพบอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2564 จำนวน - คน อัตราป่วย - ต่อแสน ,ปี 2565 จำนวน 7 คน อัตราป่วย 0.01ต่อแสน,จากสถานการณ์ในปัจจุบันแม้อัตราป่วยในปี 2565 ยังไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานแต่ด้วยความรุนแรงของโรค ถือว่าโรคไข้เลือดออกยังคงเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขในท้องถิ่นที่จำเป็นต้องมีการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ดังนั้น กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข PCU งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองเบตง จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยให้ อาสาสมัครสาธารณสุขได้มีส่วนร่วมรณรงค์ในการกำจัดทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงและกำจัดยุงตัวแก่ โดยร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกในชุมชนต่อไป การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนพฤษภาคม – กันยายนของทุกปี และนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวัน จึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้งชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนและศาสนสถาน ด้วยเหตุนี้การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้ง จากชุมชน โรงเรียน เทศบาลโรงพยาบาล ศูนย์สุขภาพชุมชน และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองเบตง จึงได้จัดทำโครงการ “รวมพลังพิชิตยุงลายป้องกันภัยร้ายโรคไข้เลือดออกในชุมชน ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ขึ้น ดังนั้น กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข PCU กม.3 แกนนำสุขภาพ ได้เล็งเห็นถึงอันตรายและความรุนแรงของโรคไข้เลือดออกที่อาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อสร้างความตระหนักของการเกิดโรคไข้เลือดออก การควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในประชาชนและลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกอนึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจะส่งผลให้ประชาชนมีความเข้มแข็งและสร้างเครือข่ายในการควบคุมป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกได้

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจในการควบคุม ป้องกัน โรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : ระดับความรู้ของผู้เข้าอบรมประเมินจากแบบสอบถาม เรื่องโรคไข้เลือดออก การควบคุมป้องกันโรค ก่อนและหลังเข้าร่วมอบรมโดยเกณฑ์ร้อยละ 80 ของผู้เข้าอบรมมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อสร้างความร่วมมือกำจัดทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนอย่าเข็มแข็ง
    ตัวชี้วัด : ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่พบค่า HI น้อยกว่า 10
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อให้อัตราผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกลดลงกว่าปีที่ผ่านมา
    ตัวชี้วัด : พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกน้อยกว่าที่ผ่านมา (ปี 2565)
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 4. เพื่อไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกซ้ำในครอบครัวเดิม
    ตัวชี้วัด : เกิดโรคไข้เลือดออกซ้ำในครอบครัวเดิมลดลง หรือไม่เกิดเลยเมื่อเทียบกับรอบปีที่ผ่านมา 2565
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดกิจกรรมฝึกอบรมเพิ่มความรู้ด้านการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 32,600.00 บาท
  • 2. มหกรรมเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์พร้อมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ดำเนินการสำรวจแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ในพื้นที่ PCU กม.3 จำนวน 10 ชุมชน
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 46,300.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 3 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 78,900.00 บาท

หมายเหตุ : วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1.1เสนอโครงการเพื่อการอนุมัติตามวาระการประชุมของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพ 1.2 ประสานงานกับผู้นำชุมชน/ อสม./และประชาชนในหมู่บ้านเพื่อรับทราบแนวทางการดำเนินงานในครั้งนี้ 1.3 ประสานวิทยากรและสถานที่ฝึกอบรม 1.4 จัดกิจกรรมฝึกอบรมเพิ่มความรู้ด้านการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก 1.5 จัดกิจกรรมมหกรรมรณรงค์ป้องกันและควบคุมแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก โดยร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่เขตเทศบาลเบตง อำเภอเบตง จำนวน ๑ ครั้ง ๑.๖ ดำเนินการมอบทรายอะเบทกำจัดลูกน้ำยุงลาย สารออกฤทธิ์กำจัดยุงร่วมกับศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองในพื้นที่ เพื่อร่วมรณรงค์ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเบตง อำเภอเบตง ๑.๗ จัดกิจกรรมการสุ่มสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน โรงเรียน วัด โดยการประสานกับภาคีเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่เดือนละ 1 ครั้ง ๑.๘ เน้นสำรวจทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ในบ้านที่มีประวัติคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกหรือสงสัยป่วยในปีที่ผ่านมา ๑.๙ ดำเนินการพ่นหมอกควันในพื้นที่เสี่ยง ได้แก่ วัดและโรงเรียน ๓ เดือนต่อครั้งและดำเนินการพ่นหมอกควันในกรณีเกิดโรคไข้เลือดออกในรัศมี ๑๐๐ เมตร บริเวณรอบ ๆ บ้านพักที่เกิดโรค ๑.๑๐ อบรมการใช้เครื่องพ่นสารเคมีกำจัดยุง 1.11 สรุปผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1 อสม. เยาวชนและประชาชนทุกชุมชนมีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง 2 ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน 3 อัตราผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง 4 ไม่เกิดโรคไข้เลือดออกซ้ำ ในบ้านที่มีประวัติคนในครอบครัวเคยป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกหรือสงสัยป่วยในรอบปีที่ผ่านมา 5 ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI ไม่เกินร้อยละ 10 และ CI ไม่เกินร้อยละ 1 ของชุมชน โรงเรียน และวัด

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง รหัส กปท. L7161

อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง รหัส กปท. L7161

อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 78,900.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................