กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการวัยรุ่นรักสุขภาพ สู่ผู้ใหญ่ที่แข็งแรง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศาลาใหม่

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศาลาใหม่, ชุมชนตำบลศาลาใหม่, โรงเรียนบ้านโคกมะเฟือง หมู่ 1, โรงเรียนจรรยาอิสลาม หมู่ 3 , โรงเรียนบ้านศาลาใหม่ หมู่ 3, โรงเรียนบ้านปูลาเจ๊ะมูดอ หมู่ 8 และ โรงเรียนบ้านคลองตัน หมู่ 4 ตำบลศาลาใหม่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากการดำเนินงานตั้งแต่ปี2564-2565 ที่ได้รับการสนับสนุนให้ดำเนินโครงการมหกรรมรณรงค์ป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ต.ศาลาใหม่ ปี 2564มีการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก พบว่า กลุ่มสตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก จำนวน 617 คน คิดเป็นร้อยละ 41.52 ซึ่งสูงกว่าตัวชี้วัดรายปี (มากกว่าร้อยละ 20) และสูงกว่าการดำเนินงานในปี 2562 (ร้อยละ 10.79) และสูงกว่าปี 2563 (ร้อยละ 23.53)และพบอัตราป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก ตั้งแต่ปี 2558-2565จำนวน 1, 1, 0, 0, 0, 0, 0, 0 ราย ตามลำดับ คิดเป็นอัตราป่วย 9.80 ,9.79, 0, 0, 0, 0, 0, 0 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ ปี 2565 พบผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก จำนวน 1 รายสำหรับการคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม พบว่า กลุ่มสตรีอายุ 30-70 ปี ตั้งแต่ปี 2558-2565 ได้คัดกรองโรคมะเร็งเต้านม จำนวน 1,574 , 1,557, 1,623,1,631, 1,669, 1,760,1,724, 1,767 คน ตามลำดับ และพบอัตราป่วยโรคมะเร็งเต้านมในปี 2561-2565 จำนวน 1, 0, 2, 3, 2 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 9.70, 0, 19.02, 25.36, 16.90 ต่อแสนประชากร ปี 2564-2565 พบผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเต้านม จำนวน 2 ราย
จะเห็นได้ว่าความครอบคลุมของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมเพิ่มสูงขึ้น และยังพบอัตราป่วยที่เพิ่มสูงขึ้นตาม การดำเนินกิจกรรมป้องกันแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องมีความสำคัญให้ ซึ่งจะส่งผลทำให้ไม่พบอัตราป่วยระยะสุดท้ายและอัตราตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม หรือพบอัตราที่ลดลง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศาลาใหม่จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในกลุ่มวัยรุ่น (อายุต่ำกว่า 20 ปี)
  1. อัตราตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่น(อายุต่ำกว่า 20 ปี) ลดลง
0.00
2 2. เพื่อป้องกันอัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในพื้นที่ตำบลศาลาใหม่
  1. ไม่พบโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มวัยรุ่น
0.00
3 3. เพื่อสร้างความตระหนักให้กลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่นในการป้องกันโรคมะเร็งในสตรี
  1. สตรีอายุ 30-60 ปี ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 20
  2. สตรีอายุ 30-70 ปี  ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมโดย จนท. ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 320
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2023

กำหนดเสร็จ 31/08/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เรื่องคุณแม่วัยใส เรื่องการคุมกำเนิดและการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ และเรื่องการป้องกันโรคมะเร็งในสตรี

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เรื่องคุณแม่วัยใส เรื่องการคุมกำเนิดและการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ และเรื่องการป้องกันโรคมะเร็งในสตรี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 320 คนๆละ 1 มื้อๆ ละ 25.-บาท เป็นเงิน 8,000.-บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 320 คนๆละ 1 มื้อๆ ละ 70.-บาท เป็นเงิน 22,400.-บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
30400.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 30,400.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ไม่พบอัตราตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่น (อายุต่ำกว่า 20 ปี)
2. ไม่พบโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มวัยรุ่น
3. ไม่พบอัตราป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
4. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้อัตรา การเกิดมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะที่ไม่รุนแรง


>