กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เนินงาม รหัส กปท. L4160

อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านตาโงง
กลุ่มคน
1.นางรอซีด๊ะ ยีมานี
2.นายพูดายลี แตซิลง
3.นางสาวสากีเราะห์ ดือราซอ
4.นางสาวมายีด๊ะ โดมาตา
5.นางสาวสารอพะ ตีแลตานา
3.
หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ปัจจุบันปัญหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชกับสุขภาพคนไทย จากข้อมูลในปี 2560 พบว่ามีการนำเข้าวัตถุอันตรายทางการเกษตรเพิ่มมากขึ้นจากปี 2559 ถึง 3.74 หมื่นตัน ขณะเดียวกันเมื่อย้อนกลับไปดูข้อมูลผู้มีงานทำในปี 2561 พบว่ามีทั้งหมด 38.3 ล้านคน ในจำนวนนี้เป็นแรงงาน นอกระบบ 21.2 ล้านคน และมากกว่าครึ่ง หรือประมาณ 11.7 ล้านคนทำงานอยู่ในภาคเกษตรกรรม คนเหล่านี้ ถ้าไม่มีความรู้เรื่องการจัดการสารเคมี ก็สุ่มเสี่ยงที่จะทำให้พวกเขาเข้าไปเกี่ยวข้องกับสารเคมีทางการเกษตรที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย อย่างสถานการณ์การใช้สารเคมีทางการเกษตรในปี 2563 พบครัวเรือนที่ยังคงใช้ สารเคมีทางการเกษตรจำนวน 677,522 ครัวเรือน หรือร้อยละ 25.60 การใช้สารเคมีกำจัดวัชพืชได้สร้าง ผลกระทบต่อร่างกายของผู้ใช้อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะสารเคมีทางการเกษตร 3 ชนิดที่มีการพูดถึงอย่างกว้างขวาง ได้แก่ พาราควอต คลอไพริฟอส และไกลโฟเซต โดยพาราควอตนั้น เกิดพิษเฉียบพลันสูงมากและยังไม่มียาถอนพิษ ก่อให้เกิดโรคพาร์กินสัน และยังมีสารตกค้างในซีรั่มของทารกแรกเกิดและมารดาด้วย ขณะที่คลอไพริฟอส ก็ทำให้ เกิดความผิดปกติด้านพัฒนาการทางสมองของเด็กที่แม่ได้รับสารระหว่างตั้งครรภ์ ส่วนไกลโฟเซต ก็เป็นสารก็เป็นสารก่อมะเร็ง รบกวนการทำงานของระบบต่อมไร้ท่อ (โดยนพ.ดนัย ธีวันดา รองอธิบดีกรมอนามัย) และภาคใต้เป็นภาคที่มีสารเคมีตกค้างในร่างกายประชาชนระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยสูงสุดมากว่า 10 ปี ในปี 2565 มีสารเคมีตกค้าง โดยเฉพาะภาคใต้ 58.65%สารเคมีปนเปื้อนในผัก-ผลไม้ เพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืช อย่างไม่ถูกวิธีเพื่อเหตุผลทางการค้าและพาณิชย์ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้น ตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยงได้ และการซื้อผักจากท้องตลาดนั้นค่อนข้างมีราคาแพงและเต็มไปด้วยสารเคมี ทั้งปัจจุบันพืชผักต่างๆที่นำมาประกอบอาหารส่วนมาก มักพบการปนเปื้อนของสารพิษ หากเกิดการสะสมในร่างกายเป็นเวลานานอาจส่งผลต่อร่างกายระยะยาวได้ การปลูกผักกินเองในครอบครัวจึงเป็นการลดความเสี่ยงดังกล่าวได้ ด้วยเหตุนี้ การปลูกพืชผักสวนครัวไว้กินเองนั้นถือเป็นการสำรองอาหารอีกวิธีหนึ่ง ซึ่งการปลูกพืชผักสวนครัวด้วยวิธีการปลูกตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการปลูกผักปลอดสารพิษ ในการแก้ปัญหาที่เป็นการแก้ที่ต้นเหตุ แบบยั่งยืน คือการส่งเสริมการปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือนและต่อยอดไปในครัวเรือน โดยการปลูกผักรับประทานเองแบบผักอินทรีย์ซึ่งเป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยให้บุคคลในครอบครัวได้รับสารอาหารที่ดี มีประโยชน์อย่างแท้จริง เพื่อการมีสุขอนามัยและสุขภาพที่ดี มีภูมิต้านทานโรคที่ดี และเพิ่มพื้นที่สีเขียว ทำให้บุคคลในครอบครัวได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษอีกด้วย ดังนั้น กลุ่มแม่บ้านออมทรัพย์เพื่อการเกษตรตาโงง หมู่ 5 ตำบลเนินงาน จึงเล็งเห็นความสำคัญด้านสุขภาพของประชาชนในหมู่บ้านจึงจัดโครงการปลูกผักปลอดสารพิษข้างบ้าน อาหารหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพให้กับครัวเรือนในชุมชนบ้านตาโงง

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดีด้วยการกินผักปลอดสารพิษ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของประชาชนมีสุขภาพดีด้วยการกินผักปลอดสารพิษ
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน
    ตัวชี้วัด : ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การปลูกผักสวนครัวกินได้เพื่อสุขภาพที่ดี
    รายละเอียด

    1.ค่าวิทยากร 600บ.X 2 คนๆ ละ 3 ชม. =3,600 บ. 2.ค่าอาหารกลางวัน 60 บ. x50 คน=3,000 บ. 3.ค่าอาหารว่าง 25 บ. x 50 คน x2 มื้อ =2,500 บ. 4.ค่าไวนิล ขนาด 3 เมตร x 250 บ.=750 บ.

    งบประมาณ 9,850.00 บาท
  • 2. 2. กิจกรรมสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ
    รายละเอียด

    1.จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สถานที่ ในการปลูกผักสวนครัว จำนวนเงิน 6,000 บาท 2.เมล็ดพันธ์เพื่อสาธิตลงแปลง จำนวนเงิน 4,000 บาท

    งบประมาณ 10,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

พื้นที่ตำบลเนินงาม

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 19,850.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ประชาชนมีสุขภาพดีด้วยการกินผักปลอดสารพิษ
  2. ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เนินงาม รหัส กปท. L4160

อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.เนินงาม
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เนินงาม รหัส กปท. L4160

อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 19,850.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................