กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านป่า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

3 หมู่ ขยับกายสบายชีวีที่ตำบลบ้านป่า

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านป่า

ผู้นำชุมชนหมู่ที่ 3,4และ5 ตำบลบ้านป่า

1. นางธิติญา ไก่ฟ้า
2. นางวราภรณ์ ครองรักษ์
3. นางสาวอัญนรีนัช โสภณเจริญทัศน์

ลานออกกำลังกายหมู่ที่ 3,4และ5 ตำบลบ้านป่า

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

 

50.00
2 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)

 

10.00
3 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

20.00
4 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

15.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
  1. จัดตั้งชมรมออกกำลังกาย 1 ชมรม
  2. ชมรมมีกิจกรรมออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3 วัน อย่างต่อเนื่อง
  3. ร้อยละ 70 ของสมาชิก มีผลเลือดของการทำงานของไต ตับ และ Lipid, Urine Protein และ FBS อยู่ในเกณฑ์ปกติ
50.00 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดตั้งชมรมออกกำลังกาย 1 ชมรม

ชื่อกิจกรรม
จัดตั้งชมรมออกกำลังกาย 1 ชมรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดตั้งชมรมออกกำลังกาย 1 ชมรม - รับสมัครสมาชิกที่มีความเสี่ยงจำนวน 50 คน - ประเมินสภาวะสุขโดยตรวจเลือดของการทำงานของไต ตับ และ Lipid, Urine Protein และ FBS อยู่ในเกณฑ์ปกต

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีชมรมออกกำลังกาย 1 ชมรม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมออกกำลังกายต่อเนื่อง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมออกกำลังกายต่อเนื่อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.  ชมรมมีกิจกรรมออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3 วัน อย่างต่อเนื่อง     - จัดกิจกรรมต่อเนื่องของชมรมออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3 วัน     - จ้างผู้นำออกกำลังกาย ให้นำออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3 วัน 2. สนับสนุนความรู้การออกกำลังกายและอุปกรณ์การออกกำลังกาย

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีกิจกรรมออกกำลังกายต่อเนื่อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
98500.00

กิจกรรมที่ 3 ประเมินผลการดำเนินการตามโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประเมินผลการดำเนินการตามโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ติดตามและประเมินผลการดำเนินการตามโครงการตามระยะเวลาที่กำหนด
  2. วิเคราะห์ข้อมูลสภาวะสุขภาพของสมาชิก
  3. ประเมินความพึงพอใจของสมาชิก
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

สมาชิกมีสภาวะสุขภาพดีขึ้นร้อยละ 5

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
100.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 99,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนในชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพตนเอง
2. มีการเพิ่มจำนวนผู้ออกกำลังกายมากขึ้นไม่จำกัดจำนวนว่าเป็นสมาชิกหรือไม่
3. มีแกนนำในการออกกำลังกายประจำทุกหมู่บ้าน
4. เกิดการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างชุมชนและป้องกันโรคไม่ติดต่อโดยการออกกำลังกาย


>