กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งคลอง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาหมู่บ้านขยะเพื่อสุขภาพ บ้านทุ่งคลอง ม.12

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งคลอง

องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งคลอง

บ้านทุ่งคลอง ม.12 ต.ทุ่งคลอง อ.คำม่วง จ.กาฬสินธุ์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)

 

70.00
2 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

40.00
3 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

30.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

70.00 75.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

40.00 45.00
3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

30.00 40.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.จัดประชุมทีมหมอครอบครัว อสม.นักจัดการสุขภาพ เพื่อจัดตั้งทีมและมอบหมายหน้าที่ ทบทวนปัญหา"ชุมชนเข้มแข็งด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะเรื่องขยะ

ชื่อกิจกรรม
1.จัดประชุมทีมหมอครอบครัว อสม.นักจัดการสุขภาพ เพื่อจัดตั้งทีมและมอบหมายหน้าที่ ทบทวนปัญหา"ชุมชนเข้มแข็งด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะเรื่องขยะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดประชุมทีมหมอครอบครัว อสม.นักจัดการสุขภาพ เพื่อจัดตั้งทีมและมอบหมายหน้าที่ ทบทวนปัญหา"ชุมชนเข้มแข็งด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะเรื่องขยะ 2.สำรวจข้อมูลปริมาณขยะในแต่ละหลังคาเรือน ก่อนดำเนินโครงการโดยทีมผู้นำชุมชน ออกประเมินปริมาณขยะทุกหลังคาเรือน

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-เกิดการประชุมทีมงานในการจัดการสุขภาพในชุมชนและเกิดแผนงานการดำเนินงาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

กิจกรรมที่ 2 ประชุมจัดทำข้อตกลง

ชื่อกิจกรรม
ประชุมจัดทำข้อตกลง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดกิจกรรมประชุมแกนนำครัวเรือน จัดทำข้อตกลงกฏ กติกาของชุมชน และให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะของชุมชน 2.ค่าใช้จ่าย ค่าอาหารและเครื่องดื่มในการจัด 50คน100บาท1วัน=5,000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-เกิดการสร้างความร่วมมือในการจัดทำข้อตกลงร่วมของคนในชุมชน -เกิดมาตรการหรือข้อตกลงร่วมของชุมชนในด้านการจัดการขยะเพื่อสุขภาพที่ดี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

กิจกรรมที่ 3 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หมู่บ้านจัดการขยะพื้นที่ เขตเทศบาลตำบลสมเด็จ จำนวน 1วัน โดยแกนนำ 20 คน 2.ค่าใชจ่าย ค่าอาหารและเครื่องดื่ม 20คน100บาท1วัน เป็นเงินจำนวน 2,000บาท 3.ค่าวิทยากรในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 600บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-เกิดการสร้างพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน ประเด็นการจัดการขยะ เพื่อสุขภาพที่ดี -เกิดการสร้างความเข้มแข็ง ภาวะผู้นำที่ดีของแกนนำการจัดการสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2600.00

กิจกรรมที่ 4 จัดกิจกรรม"รณรงค์และพัฒนาหมู่บ้านจัดการขยะเพื่อสุขภาพ"

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรม"รณรงค์และพัฒนาหมู่บ้านจัดการขยะเพื่อสุขภาพ"
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดกิจกรรม"รณรงค์และพัฒนาหมู่บ้านจัดการขยะเพื่อสุขภาพ"เดือนละ1ครั้ง เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามการดำเนินงานการจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชนตามข้อตกลงของหมู่บ้าน 2.รณรงค์ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ของคนในชุมชน โดยชุมชนร่วมกีนจัดสภาพแวดล้อมในชุใชนให้สะอาด ปลอดภัยกับการมีกิจกรรมทางกายในชีวิตประจำวัน เช่น ทำความสะอาดเส้นทางสัญจรในชุมชนให้สะอาด ไม่มีสิ่งกีดขวางสำหรับการเดินปั่นจักรยาน การลงแรงร่วมกันทำความสะอาด เก็บกิ่งไม้ สิ่งกีดขวางในพื้นที่สาธารณะ เพื่อใช้เป็นพื้นที่ในการพักผ่อน วิ่งเล่น หรือออกกำลังกายอื่นๆ 3.ค่าใช้จ่าย ค่าอาหารและเครื่องดื่ม 50คน*100บาท เป็นเงินจำนวน 5,000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-เกิดกิจกรรมอาสาพัฒนาร่วมกันของคนในชุมชน
-เกิดกิจกรรมทางกายที่เป็นการเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบำเพ็ญประโยชน์ร่วมกัน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

กิจกรรมที่ 5 ประเมินโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประเมินโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ติดตามประเมินโครงการ ตามเกณฑ์ประเมินชุมชนเข้มแข็งด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 2.มอบประกาศเกียรติบัตร"ครัวเรือนต้นแบบสิ่งแวดล้อมดี บ้านสะอาด ปราศจากขยะ" 3.สรุปจัดทำรายงาน 4.ค่าใชจ่ายในการสรุปโครงการเป็นงเินจำนวน 5,000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-เกิดการประชุมทีมงานในการติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนทุกครัวเรือนมีความรู้และสามารถจัดการขยะในครัวเรือนได้ถูกต้อง
2.ปริมาณขยะของชุมชนลดลง ก่อน-หลังดำเนินโครงการ


>