กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยแก้ว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียน ตำบลห้วยแก้ว

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยแก้ว

โรงเรียนอนุบาลบึงนาราง (ห้วยแก้ว)

โรงเรียนอนุบาลบึงนาราง (ห้วยแก้ว)

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสุรา , แผนงานยาสูบ , แผนงานสิ่งเสพติด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชนในชุมชน

อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชนลดลงเหลือ(ร้อยละ)

30.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 25
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 16/05/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 เตรียมการกิจกรรม

ชื่อกิจกรรม
เตรียมการกิจกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชุมชี้แจงคณะผู้จัดทำโครงการ 2. ประชาสัมพันธ์ให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบ 3.สำรวจผุ้เข้าร่วมกิจกรรม 4.จัดทำโครงการ งบประมาณ 0 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ได้ผู้เข้าร่วมโครงการ 2.เสนอโครงการเพื่อขอรับงบประมาณ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรม : 1.ได้รับการอนุมัติงบประมาณ 2. ประสานวิทยากร 3.กิจกรรมที่ 1 เรียนรู้พิษภัยของยาเสพติด สุรา บุหรี่ งบประมาณ : 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 125 คนๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 6,250 บาท 2.ค่าป้ายโครงการ 675 บาท 3. ค่าตอบแทนวิทยากร 2,000 บาท 4. ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม 4 ฐานเรียนรู้ เป็นเงิน 5,500 บาท 5.ค่าแผ่นภาพโปสเตอร์ เป็นเงิน 1,000 บาท 6. ค่าเจลล้างมือ 2,000 บาท  7.ค่าจัดบอร์เป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรค (โรงมือเท้า ปาก โรคไข้เลือดออก) เป็นเงิน 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.นักเรียนได้เรียนรู้ด้านสุขภาพ สามารถนำไปใชัในชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ 80 2.นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนทุกคนได้รับบริการด้านสุขภาพแเบี้องต้น 3.นักเรียนทุกคนได้รู้จักป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรและอันตรายจากยาเสพติด สุรา บุหรี่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
18425.00

กิจกรรมที่ 3 สรุปติดตามผลดำเนินงานโครงการ

ชื่อกิจกรรม
สรุปติดตามผลดำเนินงานโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรม 1.ประเมินผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดยการสังเกตจากการทำกิจกรรม 2ใช้แบบบันทึก/แบบทดสอบในการติดตามผล งบประมาณ 0 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้จากการที่ได้ทำกิจกรรมไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ 80 2. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รู้้จักป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร และอันตรายจากยาเสพติด สุรา บุหรี่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 18,425.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.นักเรียนได้เรียนรู้ด้านสุขภาพ สามารถนำไปใชัในชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ 80
2.นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนทุกคนได้รับบริการด้านสุขภาพแเบี้องต้น
3.นักเรียนทุกคนได้รู้จักป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรและอันตรายจากยาเสพติด สุรา บุหรี่


>