กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลริมปิง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดพุง ลดโรค “กินถูกหลัก ลดถูกส่วน”

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลริมปิง

คณะกรรมการหมู่บ้านหมู่ที่ 6 บ้านสบปะ

อาคารเอนกประสงค์ของหมู่บ้าน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ

 

20.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ

20.00 20.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2018

กำหนดเสร็จ 31/08/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. กิจกรรมเก็บข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้านและพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย

ชื่อกิจกรรม
1. กิจกรรมเก็บข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้านและพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าวัสดุ          เป็นเงิน  500  บาท         รวม  500  บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้านและพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
500.00

กิจกรรมที่ 2 จัดเวทีคืนข้อมูลจากการสำรวจ ตรวจสุขภาพเบื้องต้นและจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านพฤติกรรมสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
จัดเวทีคืนข้อมูลจากการสำรวจ ตรวจสุขภาพเบื้องต้นและจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านพฤติกรรมสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

     - ค่าอาหารผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 70 คนๆละ 50 บาท  เป็นเงิน  3,500  บาท              - ค่าอาหารว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 70 คนๆละ 20 บาท  เป็นเงิน  1,400  บาท             - ค่าวิทยากรจำนวน  3  ชั่วโมงๆละ 300  บาท เป็นเงิน  900  บาท              - ค่าวัสดุ          เป็นเงิน  1,000  บาท                     รวม  6,800  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีการจัดเวทีคืนข้อมูลจากการสำรวจ ตรวจสุขภาพเบื้องต้นและจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านพฤติกรรมสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6800.00

กิจกรรมที่ 3 3. กิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย สัปดาห์ละ 3 วัน รวมจำนวน 12 สัปดาห์ 36 วัน

ชื่อกิจกรรม
3. กิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย สัปดาห์ละ 3 วัน รวมจำนวน 12 สัปดาห์ 36 วัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าวัสดุ            เป็นเงิน  500  บาท
  • ค่าน้ำดื่ม          เป็นเงิน  500  บาท รวม 1,000  บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย สัปดาห์ละ 3 วัน 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมเยี่ยมสำรวจ “ตีท้ายครัว บ้านนี้มีสุข ปลูกผักกินเอง”

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมเยี่ยมสำรวจ “ตีท้ายครัว บ้านนี้มีสุข ปลูกผักกินเอง”
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างทีมสำรวจ จำนวน 5 คนๆละ 20 บาท/ครั้ง จำนวน 10 ครั้ง เป็นเงิน  1,000  บาท                 รวม 1,000  บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีการจัดทีมเยี่ยมสำรวจ “ตีท้ายครัว บ้านนี้มีสุข ปลูกผักกินเอง” กลุ่มเป้าหมายในชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

กิจกรรมที่ 5 5. กิจกรรมสื่อสารความเสี่ยงด้านสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
5. กิจกรรมสื่อสารความเสี่ยงด้านสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวัสดุ (แผ่นพับ/ป้ายประชาสัมพันธ์/แผ่นซีดี ฯลฯ) เป็นเงิน1,000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-มีการจัดทำสื่อสารความเสี่ยงด้านสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมตลาดนัดสีเขียว

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมตลาดนัดสีเขียว
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
    • ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ เป็นเงิน1,000บาท รวม1,000บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีสถานที่แลกเปลี่ยนสินค้าปลอดภัยทางด้านการเกษตร

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

กิจกรรมที่ 7 . กิจกรรมจัดเวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
. กิจกรรมจัดเวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 70 คนๆละ 50 บาท  เป็นเงิน  3,500  บาท          - ค่าอาหารว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 70 คนๆละ 20 บาท  เป็นเงิน  1,400  บาท             - ค่าวิทยากรจำนวน  3  ชั่วโมงๆละ 300  บาท เป็นเงิน  900  บาท          - ค่าวัสดุ          เป็นเงิน  1,000  บาท                 รวม  6,800  บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6800.00

กิจกรรมที่ 8 7. กิจกรรมเชิดชูเกียรติครัวเรือน/บุคคลต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดพุง ลดโรค “กินถูกหลัก ลดถูกส่วน”

ชื่อกิจกรรม
7. กิจกรรมเชิดชูเกียรติครัวเรือน/บุคคลต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดพุง ลดโรค “กินถูกหลัก ลดถูกส่วน”
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าป้ายเชิดชูเกียรติฯ                  เป็นเงิน  2,000  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-เกิดครัวเรือน/บุคคลต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดพุง ลดโรค “กินถูกหลัก ลดถูกส่วน”

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,100.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. ประชากรกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยในหมู่บ้านมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความตระหนักถึงสุขภาพของตนเอง และสถานะสุขภาพของชุมชน
2. แกนนำชุมชนได้รับการพัฒนาศักยภาพในการจัดการฐานข้อมูลสุขภาพรวมทั้งขับเลื่อนพลังสังคม สามารถจัดกิจกรรมสำหรับการแก้ไขปัญหา/สร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยง
3. คนในชุมชน มีการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและปัจจัยแวดล้อมที่เหมาะสมและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ


>