กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเซะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

กลุ่มดาหลาตาเซะชวนเลิกบุหรี่ ลดโรค

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเซะ

นายอดิศร สาและ
นางต่วนซือเมาะสาและ
นางนารีสาณ ชาตรี
นางนินุรมาอาจประดิษฐ์
นายฮาบีบ อาจประดิษฐ์

ม.4 ต. ตาเซะอ.เมืองจ.ยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานยาสูบ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและเยาวชน(อายุไม่เกิน 25 ปี) ที่สูบบุหรี่

 

70.00
2 จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี (คน)

 

10.00
3 ร้อยละของผู้เลิกบุหรี่ได้สำเร็จ (เลิกติดต่อกันนานเกิน 6 เดือน โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ)

 

4.00
4 มาตรการของชุมชนที่ประกาศใช้เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ(จำนวนมาตรการ)

 

1.00
5 จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย (ร้าน)

 

4.00

มีมาตรการห้ามบุคคลอื่นสูบบุหรี่ในบ้านบุคคลต้นแบบ 4 หลัง บ้านนายอดิศรสาและ นายแวอาฉซอาดง นายตวนโซะ ปาแซ นายตวนอาแซปาแซ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน

อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

70.00 55.00
2 เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่

อัตราจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25ปี ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

0.00
3 เพื่อเพิ่มอัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือน โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ

อัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือนโดยไม่กลับไปสูบซ้ำเพิ่มขึ้นเป็น(ร้อยละ)

4.00 10.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการของชุมชนที่ประกาศใช้เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ

จำนวนมาตรการของชุมชนที่ประกาศใช้เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ เพิ่มขึ้นเป็น(จำนวนมาตรการ)ร้านค้าปลอดบุหรี่

1.00 1.00
5 เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย

จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายเพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน)

4.00 7.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/09/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 สำรวจข้อมูลสถาณการณ์บุหรี่

ชื่อกิจกรรม
สำรวจข้อมูลสถาณการณ์บุหรี่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดทำแบบสอบถาม เรื่อง สถานการณ์การสูบบุหรี่ สำรวจโดยเยาวชนกลุ่มเสี่ยง จำนวนเป้าหมาย 20 คน (แกนนำ) วิธีดำเนินการ 1.ออกแบบสำรวจ สถาณการณ์บุหรี่และซักซ้อมการเก็บข้อมูล การระบุเป้าหมายเพื่อจัดเก็บข้อมูล วิธีการเก็บข้อมูล โดยมีแกนนำสำรวจร่วมซักซ้อม
2.ลงเก็บข้อมูล ร้านชำ และเยี่ยมสำรวจ 2ครั้ง โดยการปั่นจักรยาน 3.เก็บข้อมูลกลุ่มเยาวชน จำนวน 2 ครั้ง โดยปั่นจักรยาน 4.มีการวิเคราะห์ข้อมูลสถาณการณ์บุหรี่ ค่าใช้จ่าย 1.ค่าเอกสาร(แบบสอบถาม) จำนวน 100 ชุด ชุดละ 20 บาท 2.ค่าอาหารว่าง จำนวน 30 คนคนละ 25 บาท จำนวนสำรวจ 3 ครั้ง

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ได้ข้อมูลเยาวชนที่สูบบุหรี
2.ได้เยาวชนกลุ่มเสี่ยงมามีส่วนร่วมในการสำรวจข้อมูลสถานการณ์การสูบบุหรี่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4250.00

กิจกรรมที่ 2 จัดเวทีประชาคมเพื่อคืนข้อมูลผลการสำรวจสถานการณ์บุหรี่

ชื่อกิจกรรม
จัดเวทีประชาคมเพื่อคืนข้อมูลผลการสำรวจสถานการณ์บุหรี่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1 จัดประชุมชาวบ้านสมาชิกหมู่ที่ 4 บ้านวังกระ ครัวเรือนละ 1 คน จำนวน 80 คน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 80 คน X 25 บาท ต่อคน เป็นเงิน 2,000 บาท 2 ค่าวัสดุในการจัดประชุม จำนวน  1,500 บาท 3 ค่าเครื่องเสียง 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ชาวบ้านทราบสถานการณ์บุหรี่ของหมู่บ้่านและแนวทางข้ เสนอแนะในการแก้ปัญหาบุหรี่ของชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4000.00

กิจกรรมที่ 3 รับสมัครผู้ที่สูบบุหรี่เข้าร่วมกิจกรรม บุคคลต้นแบบเลิกบุหรี่

ชื่อกิจกรรม
รับสมัครผู้ที่สูบบุหรี่เข้าร่วมกิจกรรม บุคคลต้นแบบเลิกบุหรี่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1 เชิญชวนกลุ่มเป้าหมายที่สูบบุหรี่ในชุมชน เข้าร่วมกิจกรรมเลิกบุหรี่ถาวร  จำนวน 6 คน  (กลุ่มเป้าหมาย 1. นายพยุง ณ ชาตรี 2 นายต่วนอารีเพ็ง  ปาแซ 3 นายฮาบีฟ อาจประดิษฐ์ 4 นายมาหามะอาเก็บ ปะแซ 5 นายต่วนอาเสอมิง กุโน 6 นายมะรอสาลี  เจ๊ะมะ ) 2 จัดตั้งชมรมเลิกบุหรี่บ้านวังกระ
3 จัดกระบวนการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเลิกบุกหรี่ ระหว่างบุคคลต้นแบบกับกลุ่มเป้าหมาย  เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 4 ครั้ง ๆ ละ 20 คน ประกอบด้วย ตัวแทน อสม. บุคคลต้นแบบ 4 คน เป้าหมาย 6 คน และตัวแทนทหารในพื้นที่ ) ค่าใช้จ่ายประกอบด้วย ค่าอาหารว่าง 25บาท X 20 คน จำนวน 4  ครั้ง เป็นเงิน 2,000 บาท 4 ค่าอาหารกลางวัน 20 คน ๆละ 75 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน  6,000  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 เกิดชมรมคนเลิกบุหรี่บ้านวังกระ 2 จำนวนผู้เลิกบุหรี่ถาวัเพิ่มขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8000.00

กิจกรรมที่ 4 ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายที่เลิกบุหรี่ถาวรโดย อสม.และจิตอาสาญาลัน

ชื่อกิจกรรม
ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายที่เลิกบุหรี่ถาวรโดย อสม.และจิตอาสาญาลัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1 จิตอาสา ญาลัน ร่วมกับ อสม.ติดตามเยี่ยมบ้าน ให้กำลังใจ กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเลิกบุหรี่ถาวร จำนวน 6 คน

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ้่มเป้าหมายได้รับการเยี่ยมบ้านเสริมพลังจากจิตอาสา จำนวน 6 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 เยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียง และผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่โดย ชรมเลิกบุหรี่บ้านวังกระ

ชื่อกิจกรรม
เยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียง และผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่โดย ชรมเลิกบุหรี่บ้านวังกระ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1 สำรวจกลุ่มเป้าหมายผู้ป่วยติดเตียง ผู้ด้อยโอกาสในชุมชน 2 ประชุมสมาชิกชมรมและจิตอาสาเพื่อวางแผนการเยี่ยมผู้ป่วยติดเตียง ผู้ด้อยโอกาสในชุมชนโดยสมาชิกชมรมเลิกบุหรี่บ้านวังกระ ค่าอาหารว่างและค่าอาหารกลางวันในการประชุมสมาชิกชมรมและจิตอาหาร จำนวน 20 คน ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท 3 สมาชิกชมรมออกเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายร่วมกับ จิดอาสา

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ป่วยติดเตียงและผู้ด้อยโอกาสได้รับการเยี่ยมบ้าน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

กิจกรรมที่ 6 กำหนดมาตรการสถานที่สาธารณะปลอดบุหรี่ในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
กำหนดมาตรการสถานที่สาธารณะปลอดบุหรี่ในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1 กำหนดเป้าหมายพื้นที่สาธารณะเพื่อจัดทำมาตรการสถานที่ปลอดบุหรี่ ประกอบด้วย   มัสยิด 1 แห่ง สุเหร่า 2 แห่ง สนามเด็กเล่น 1 แห่ง  สถานที่ราชการ 2 แห่ง  (รพสต.วังกระ และโรงเรียนวังธราทิพย์วิทยา มัสยิดยาแมะ สุเหร่าบ้านลิเด็ง สุเหร่าบ้านตันหยง   สนามเด็กเล่นชลประทาน)
1 ค่าเอกสารประชาสัมพันธ์ จำนวน  500 บาท 2 ทำป้า่ยประชาสมันพันธ์ ป้าย ละ 700 บาท จำนวน 6 ป้าย เป็นเงิน 4,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดพื้นที่ปลอดบุหรี่ในชุมชน 6 แห่ง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4700.00

กิจกรรมที่ 7 จัดตั้งชมรมจักรยานล้อเดียว

ชื่อกิจกรรม
จัดตั้งชมรมจักรยานล้อเดียว
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1 รับสมัครเยาวชนกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมชมรม จักรยานล้อเดียว 2 อบรมทักษะการปั่นจักรยานล้อเดียว จำนวน 15  คน ค่าอาหารว่างและค่าอาหารกลางวันจำนวน 15 คน ๆละ 100 บาท เป็นเงิน 1500  บาท 3 สมาชิกชมรมจักรยานล้อเดียว ออกเยี่ยมบ้านและรณงค์เรื่องการลดบุหรี่

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดกลุ่ม ชมรมเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ที่ช่วยสนับสนุนการจัดกิจกรรใลด ละ เลิก บุหรี่ในชุมชน 1 ชมรม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 24,450.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

จำนวนผู้สูบบุหรี่ลดลงคนเเลิกสูบบุหรี่ถาวรเพิ่มขึ้นเกิดพื้นที่สาธารณะปลอดบุหรี่ในชุมชนเพิ่มขึ้นเยาวชนกกลุ่มเสี่ยง ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ทำให้อัตราการสูบบุหรี่ลดลง


>