กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและทุพพลภาพในชุมชน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บ้านท่ากูโบ

1. นางวัญเพ็ญ แก้วเกาะเอียด
2. นางสาวคอรีเยาะ ยูนุ
3. นางสาวละออง ไชยชนะ
4. นายอับโดรอหะ สะมาแอ
5. นางบายดะห์ บาหะ

ตำบลปุโละปุโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานคนพิการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนคนพิการ

 

40.00
2 การสำรวจสภาวะสุขภาพ

 

40.00

ในปัจจุบันมีผู้พิการในประเทศไทยเกือบ ๒ ล้านคน โดยแบ่งประเภทเป็น คนพิการทางการมองเห็น คนพิการทางการได้ยิน คนพิการทางการเคลื่อนไหว คนพิการทางการเรียนรู้ พิการทางจิตใจ พิการทางสติปัญญา และพิการทางออทิสติด และในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่ากูโบ มีผู้พิการทั้งหมด ๔๐ คน ซึ่งมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทำให้ต้องมีการพัฒนาศักยภาพและฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้พิการให้สามารถช่วยเหลือตนเองและให้ผู้ดูแลสามาถดูแลผู้พิการได้ทั้งนี้ในการดูแลด้านสุภาพของผู้พิการ ครอบคลุมถึงการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการให้สามารถดำรงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรีและไม่ด้อยโอกาสได้ใช้ความสามารถที่มีอยู่ได้อย่างเต็มศักยภาพเพื่อเป็นการลดภาระต่อการดูแลช่วยเหลือของคนในครอบครัวและสังคมในระยะยาวอีกทั้งในช่วงปลายทัศวรรษที่ผ่านมาปัญหาสุขภาพของประเทศไทยเปลี่ยนจากโรคติดต่อมาเป็นโรคติดต่อเรื้อรัง อันเป็นผลสืบเนื่องจากการพัฒนาประเทศในด้านเศรษฐกิจและสังคมรวมทั้งสังคมไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ปัญหาสุขภาพใหม่ที่ประสบอยู่ไม่ว่าจะเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ซึ่งมักจะตามมาด้วยโรคหลอดเลือดสมอง มีอาการอัมพฤกษ์ อัมพาต เกิดเป็นผู้ป่วยเรื้อรังและผู้อยู่ภาวะพึ่งพิง ซึ่งไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ต้องพึ่งพาผู้อื่นในการดูแลสุขภาพ ทางอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่ากูโบ เล็งเห็นถึงความสำคัญของการให้ความรู้ผู้ดูแลผู้พิการและ ผู้อยู่ภาวะพึ่งพิงได้มีทักษะในการดูแลสุขภาพ มีความรู้ความเข้าใจสามารถช่วยเหลือตัวเองได้และให้ผู้ดูแลผู้พิการและทุพพลภาพอยู่ภาวะพึ่งพิงได้

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลผู้พิการมากขึ้น

ร้อยละ ๘๐ ของผู้พิการหรือผู้ดูแลผู้พิการและทุพพลภาพอยู่ภาวะพึ่งพิง มีทักษะในการดูแลสุขภาพ

80.00
2 เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับผู้พิการให้เห็นคุณค่าของชีวิตและพร้อมที่จะดำเนินชีวิตต่อไปในสังคม

ร้อยละ ๘๐ ของผู้พิการหรือผู้ดูแลผู้พิการและทุพพลภาพอยู่ภาวะพึ่งพิง มีทักษะในการดูแลสุขภาพ

80.00
3 เพื่อเป็นการติดตามให้ความช่วยเหลือทางสังคม สุขภาพแก่ผู้พิการ

ร้อยละ ๘๐ ของผู้พิการหรือผู้ดูแลผู้พิการและทุพพลภาพอยู่ภาวะพึ่งพิง มีทักษะในการดูแลสุขภาพ

80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 40
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและทุพพลภาพในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและทุพพลภาพในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข
  2. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลคนพิการและทุพพลภาพ
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
25000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,000.00 บาท

หมายเหตุ :
1. จัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข
- ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน*7 ชั่วโมง*600 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 40 คนๆละ 25 บาท*2 มื้อ เป็นเงิน 2,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 40 คนๆละ 50 บาท*1 มื้อ เป็นเงิน 2,425 บาท
- ค่าวัสดุใช้อบรม จำนวน 40 ชุด เป็นเงิน 2,425 บาท
2. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลพิการและทุพพลภาพ
- ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน*7 ชั่วโมง*600 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 40 คนๆละ 25 บาท*1 มื้อ เป็นเงิน 2,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 40 คนๆละ 50 บาท*1 มื้อ เป็นเงิน 2,000 บาท
- ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ ขนาด 1.5*3.0 เมตร 1 ผืนๆละ 720 บาท
- ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ (ติดในหมู่บ้านทุกหมู่) ขนาด 1.5 *3.0 เมตร 4 ผืนๆละ 750 เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าวัสดุใช้อบรม จำนวน 40 ชุด เป็นเงิน 2,425 บาท รวมเป็นเงิน 14,375 บาท

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ร้อยละ ๘๐ ของผู้พิการหรือผู้ดูแลผู้พิการ และทุพพลภาพ มีทักษะในการดูแลสุขภาพ
2. ผู้พิการหรือผู้ดูแลผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้องรังและผู้อยู่ภาวะพึ่งพิง มีความรู้ความเข้าใจสามารถช่วยเหลือตัวเองได้
3. ผู้พิการและทุพพลภาพในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่ากูโบ ได้รับการดูแลและเฝ้าระวังเกี่ยวกับสุขภาพด้วยความเสมอภาคและทั่วถึง
4. สามารถป้องกันโรคภัยต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับผู้พิการและทุพพลภาพ เป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
5. ก่อให้เกิดแรงจูงใจแก่ครอบครัวและญาติพี่น้องในการร่วมดูแลผู้พิการและทุพพลภาพ และผู้พิการให้มีสุขภาพที่ดี และมีความสุขในการดำรงชีวิต


>