กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบุคคลต้นแบบปรับพฤติกรรมลดบริโภคหวานมันเค็มตำบลสะบารัง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี

แกนนำประจำตำบลสะบารัง

1.นายอัสมีนกูนา โทร. 082-8259995
2.นางสาวปรารถนา รุ่งวิทยพันธ์ โทร.089-5971949
3.นางจุฑารัตน์ใบระหมาน โทร.090-7156001
4.เซาดะห์ ดอเล๊าะ โทร.082-7349668
5.นางสุจินต์จริตงาม โทร.085-5826346

10 ชุมชนในตำบลสะบารัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม

 

20.00
2 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ

 

60.00
3 ร้อยละจำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักไว้บริโภคในครัวเรือน

 

40.00
4 ร้อยละร้านอาหารแผงลอยในชุมชนไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน/ไม่ถูกหลักสุขาภิบาล

 

80.00
5 ร้อยละปัญหาน้ำหนักเกิน อ้วนในวัยทำงาน

 

20.00
6 ร้อยละครัวเรือนที่รับประทานอาหารมื้อเย็นร่วมกัน

 

80.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ

60.00 10.00
2 เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน

ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น

20.00 50.00
3 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักไว้บริโภคในครัวเรือน

ครัวเรือนจะมีผักไว้บริโภคในครัวเรือนเพิ่มขึ้น

40.00 70.00
4 เพิ่มจำนวนร้านอาหารแผงลอยในชุมชนไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน/ไม่ถูกหลักสุขาภิบาล

ร้านอาหารแผงลอยในชุมชนผ่านเกณฑ์มาตรฐานและถูกหลักสุขาภิบาล

80.00 100.00
5 ลดปัญหาน้ำหนักเกิน อ้วนในวัยทำงาน

กลุ่มวัยทำงานมีรูปร่างและน้ำหนักสมส่วนที่ดีขึ้น

20.00 10.00
6 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่รับประทานอาหารมื้อเย็นร่วมกัน

ครัวเรือนมีการรับประทานอาหารมื้อเย็นร่วมกันมากขึ้น

80.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2020

กำหนดเสร็จ 31/08/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในด้านโภชนาการอาหารและมีการวัดสัดส่วนรอบเอวให้แก่กลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในด้านโภชนาการอาหารและมีการวัดสัดส่วนรอบเอวให้แก่กลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-การวัดสัดส่วนรอบเอวของผู้เข้าร่วมอบรมเพื่อนำมาประเมินก่อนและหลังทำโครงการ -ให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลือกรับประทานอาหาร การหลีกเลี่ยงอาหารที่ให้โทษต่อร่างกาย งบประมาณที่ใช้ในกิจกรรม 1.ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1.4x2.4 เมตร =1,000บาท 2.ค่าอาหารกลางวัน50บาทx200คน=10,000บาท 3.ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 25บาทx2มื้อx200คน=10,000บาท 4.คาตอบแทนวิทยากร 5ชั่วโมงx600บาท=3,000บาท 5.ค่าอุปกรณ์เครื่องเขียน 200 คน x20 บาท= 4,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2563 ถึง 1 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมโครงการได้วัดสัดส่วนรอบเอวของตนเองเเล้วนำมาเปรียบเทียบภายหลังจากเสร็จโครงการเพื่อให้มีรูปร่างที่ดีขึ้นและได้มีความรู้ความเข้าใจในการรับประทานอาหารถูกสุขลักษณะเพื่อสุขภาพที่ดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
28000.00

กิจกรรมที่ 2 2.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับวิถีเกษตรพอเพียงและการและการปลูกผักปลอดสารพิษและพืชผักสมุนไพร ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
2.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับวิถีเกษตรพอเพียงและการและการปลูกผักปลอดสารพิษและพืชผักสมุนไพร ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและพืชผักสมุนไพร
2.สอนวิธีการทำแปลงปลูกผัก พรวนดินการดูแลหลังการปลูกเพื่อนำเพื่อให้ได้ผลผลิตและนำมาใช้ประโยชน์ได้ งบประมาณที่ใช้ 1.ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท * 200 คน=10,000 บาท 2. อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 25 บาท * 2 มื้อ * 200 คน=10,000 บาท 3. ค่าตอบแทนวิทยากร 5ชั่วโมงคุณ 600 บาท = 3,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มิถุนายน 2563 ถึง 15 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมอบรมได้ความรู้เกี่ยวกับปลูกผักและสามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
23000.00

กิจกรรมที่ 3 3.การลงสวนเกษตรพอเพียง

ชื่อกิจกรรม
3.การลงสวนเกษตรพอเพียง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

งบประมาณกิจกรรมลงสวนเกษตรพอเพียง 1. เมล็ดพันธุ์พืช เป็นจำนวนเงิน 2,000 บาท 2. ปุ๋ย เป็นจำนวนเงิน 3,000 บาท 3. ดินผสมปุ๋ย เป็นจำนวนเงิน 3,000บาท 3. อุปกรณ์การเกษตร เป็นจำนวนเงิน 25,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
16 มิถุนายน 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้พืชผักสมุนไพรนำมาใช้ในชีวิตประจำวันแบบปลอดสารพิษ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
33000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 84,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้เข้าร่วมอบรมได้ปลูกพืชผักเเละสมุนไพรปลอดสารพิษอย่างถูกวิธีและสามารถเเนะนำคนในชุมชนำไปปลูกได้อย่างถูกวิธี
2. ผู้เข้าร่วมโครงการ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและรูปร่างสัดส่วนสมส่วนดีขึ้น
3. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำผลิตภัณฑ์มาใช้ในชีวิตประจำวันได้และสามารถรายได้เพิ่มขึ้น


>