กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการรวมพลังพลเมืองตื่นรู้ หนุนช่วยรัฐ สู้ภัยโควิด-19 (COVID-19) ตำบลละงู
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
สภาองค์กรชุมชนตำบลละงู
กลุ่มคน
1.นายอารีย์ติงหวัง
2.นายชะดีนยังดี
3.นางจันทิมา ตรีมีน
4.นางภัชริดาโสธามาด
5.นางรสน๊ะสายเส็น
3.
หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทําโครงการ) จากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ Coronavirus disease (COMD-19) ได้แพร่ระบาดอย่างรุนแรง ด้วโลก จนองค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศให้การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่เป็น “การระบาดใหญ่” หรือ pandemic และประเทศไทยได้ประกาศชื่อและอาการสําคัญของโรคติดต่ออันตรายให้โรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา ๒๐๒๙ หรือโรคโควิด19 (Coronavirus Dissey 2012 (COMD-19) เป็นโรคติดต่ออันตรายตาม พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย ซึ่ง โรคดังกล่าวมีอาการสําคัญของโรคมีอาการใช้ไอ เจ็บคอ หอบเหนื่อย หรือมีอาการของโรคปอดอักเสบในรายที่มีอาการ รุนแรงจะมีอาการระบบทางเดินหายใจล้มเหลว และอาจถึงขั้นเสียชีวิต การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาในประเทศไทย พบว่า มีผู้ปวย และประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ต้องอยู่ใน ระหว่างเฝ้าระวัง กักบริเวณในที่พํานักเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบ ทั้งด้านสาธารณสุข สังคม เศรษฐกิจ และ ความมั่นคงของประเทศเริ่มเห็นชัดเจนมากขึ้น จึงเริ่มพบปัญหาการขาดแคลนอุปกรณ์ในการป้องกันโรค บุคลากรทาง การแพทย์และสาธารณสุขที่มีไม่เพียงพอกับการดูแลผู้ติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา และสูญเสียค่ารักษาพยาบาล ประชาชน เกิดความตื่นตระหนก ผู้ประกอบการต่าง ๆ ประสบปัญหาขาดทุนทําให้ต้องปิดกิจการและเลิกจ้างคนงาน เป็นต้น ที่ ผ่านมามีการปรึกษาหารือกับภาคียุทธศาสตร์ทั้งด้านสุขภาพและการ พัฒนาสังคม เช่น กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สํานักงานกองทุนสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สํานักงาน คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (สรพ.) สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรมการปกครอง เครือข่ายหมออนามัย และ Thai PBS มาเป็นระยะ มีผลสรุปร่วมกันทที่เป็นสาระสําคัญ คือ สถานการณ์ดังกล่าวมีความจําเป็นอย่างยิ่งที่ต้องอาศัยพลังพลเมืองร่วมมือกันบริหารจัดการปัญหาแบบบูรณาการและมี ส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ทั้งในระดับจังหวัด อําเภอ โดยมีตําบลเป็นจุดยุทธศาสตร์ในการสร้างการบูรณาการบทบาทความ รับผิดชอบและหนุนเสริมมาตรการทางสังคมกับภาครัฐอย่างเป็นระบบเนื่องจากตําบลมีต้นทุนและศักยภาพที่สําคัญทั้ง การสนับสนุนทรัพยากรและองค์กรภาคีเครือข่ายอาทิเช่น กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ สภาองค์กรชุมชน ท้องถิ่น ท้องที่ และหน่วยงานภาครัฐทั้งท้องถิ่นและท้องที่ ปัจจุบันสภาองค์กรชุมชนตําบลมีการจดแจ้งจัดตั้งเกือบครอบคลุมทุกพื้นที่แล้ว และมีกลุ่มองค์กรชุมชนที่จด แจ้งจัดตั้งภายใต้สภาองค์กรชุมชนกว่าหนึ่งแสนองค์กร หากสภาองค์กรชุมชนตําบลร่วมกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล (รพ.สต.) องค์กรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นําชุมชน ผู้นํา ทางศาสนา อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน (อสม.) และศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน ช่วยกันสนับสนุนการสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของ โรคติดต่ออันตรายจากเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ COMD-19 มีการปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนสถานการณ์ให้ประชาชนใน พื้นที่เท่าทันต่อสถานการณ์ปัญหาและกําหนดนโยบายสาธารณะระดับ พื้นที่ ด้วยการสร้างกฎ กติกา ข้อตกลง มาตรการ ทางสังคม ธรรมนูญสุขภาพ แผนพัฒนาในระดับตําบล ก็จะ ช่วยให้การสนับสนุนและส่งเสริมป้องกันและแก้ไขปัญหา สาธารณสุขจากการแพร่ระบาดของโรคจากนโยบายของภาครัฐ เกิดความเหมาะสมตามความจําเป็นเละเท่าทันต่อ สถานการณ์ของพื้นที่ได้อีกทางหนึ่ง ด้วยเหตุนี้ สภาองค์การชุมชนตําบลละงู จึงได้จัดทําโครงการรวมพลังพลเมือง ตื่นรู้ หนุนช่วยรัฐ สู้ภัยโควิด-19 ตําบลละงู ขึ้น เพื่อระดมความร่วมมือและทรัพยากรที่มีอยู่ใน ท้องถิ่น เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม และส่งเสริม สนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออันตรายจากเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ COVID 19 ไม่ให้เกิดในชุมชน รวมทั้งหาแนาวทางหรือเตรียมการฟื้นฟูสุขภาวะของคนในชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ covid-19 ให้สามารถ กลับมามีสุขภาวะที่ดีต่อไป จึงขอเสนอโครงการดังกล่าวเพื่อรับการสนับสนุนจากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลละงู

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1.เพื่อส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของกลุ่มองค์กร ประชาชน หรือหน่วยงานอื่นในพื้นที่ เฝ้าระวัง ป้องกัน การติดต่อของโรคติดเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ COVID-19 ตามแนวทางของครอมควบคุมโรค
    ตัวชี้วัด : มีองค์กรเข้าร่วมในการเฝ้าระวังฯอย่างน้อย 36 องค์กร
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยสามารถถ่ายทอดความรู้ในการการดูแล และแนะนําให้กับประชาชนของชุมชนในตําบลตนเองได้ อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจ ในการ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ป้องกันโรค โควิด -19 และสามารถถ่ายทอดความรู้ได้
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. 3.เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักรู้โดยสร้างความร่วมมือร่วมใจให้เป็นผู้มีความรับผิดชอบต่อสังคมในตำบลของตนเอง ตามแนวทางและมาตรการต่างๆของประกาศที่เกี่ยวข้องกำหนดในช่วงของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชิ้อไวรัสโคโรนา
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 10 ของประชาชนมีพฤติกรรมฝ่าฝืนไม่สวมหน้ากากอนามัยในหมู่บ้าน - มีกฎ กติกา ข้อตกลง มาตรการทางสังคม ธรรมนูญ สุขภาพ แผนพัฒนาตําบล เพื่อแก้ไขปัญหาโรคเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ COVID-19 จํานวน 1 ชุด
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทํางานชี้แจงรายละเอียดโครงการให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในตำบล 25 คน
    รายละเอียด

    ประชุมคณะทํางานชี้แจงรายละเอียดโครงการให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในตำบล 25 คน จำนวน 2 ครั้ง
    ครั้งที่ 1 เพื่อชี้แจงแผนงานโครงการ ครั้งที่2 เพื่อติดตามการดำเนินงานโครงการ -งบประมาฯ ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท X 25 คน X 4 ครั้ง เท่ากับ 2500 บาท ค่าอาหารว่าง25.บx25 คนx4 มื้อ เท่ากับ 2500 บาท ค่าวัสดุ 600 บาท (ปากกา สมุด กระดาษ A4 แม็ก ลวดเน็บแม็ค
    รวม 5600 บาท

    งบประมาณ 5,600.00 บาท
  • 2. กิจกรรมที่ 2 ลงพื้นที่ระดับหมู่บ้านเพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ตามแนวทางและมาตรการต่าง ๆ ที่รัฐบาลหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกําหนดขึ้น เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนและรวบรวมความคิดเห็นมาเป็นฉันทามติของแต่ละหมู่บ้าน จํานวน 18 หมู่บ้านๆละ 25 คนเจ้าหน้าที่ สภาองค์กรช
    รายละเอียด

    ค่าอาหารกลางวัน 50บ.X30 คน X 18 ครั้ง เท่ากับ 27000 บาท ค่าอาหารว่าง 25 X 30 คน X 18 มื้อ เท่ากับ 13500 บาท ค่าวิทยากร 18 ชั่วโมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน 5400 บาท ค่าวัสดุ 500 บาท X 18 ครั้ง เท่ากับ 9000 บาท
    รวมทั้งสิ้น 54900

    งบประมาณ 54,900.00 บาท
  • 3. สรุปประมวลความคิดเหฌนฉันทามติ ข้อตกลง มาตรการทางสังคมต่างๆ
    รายละเอียด

    สรุปประมวลความคิดเหฌนฉันทามติ ข้อตกลง มาตรการทางสังคมต่างๆ เพื่อนำมาจัดการดูแลประชาชนในตำบลละงู กำหนดกฏ กติกา ข้อตกลง มาตรการทางสังคม ธรรมนูญสุขภาพคน โดยมีภาคส่วนต่างๆเข้าร่วมจำนวน 40 คน เพื่อแก้ไขปัญหาโรคเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ COVID -19
    -ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท X 40 บาท เท่ากับ 2000 บาท ค่าอาหารว่าง 25 บาท X 25 คน X 2 มื้อ เท่ากับ 2000 บาท ค่าวิทยากร1 คน X 6 ชั่วโมง ๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1800 บาท ค่าวัสดุ 1000 บาท (ปากกา สมุด กระดาษชาร์ด กระดาษ A 4
    รวม 6800 บาท

    งบประมาณ 6,800.00 บาท
  • 4. เวทีประกาศ กฏ กติกา ข้อตกลง มาตรการทางสังคม
    รายละเอียด

    เวทีประกาศ กฏ กติกา ข้อตกลง มาตรการทางสังคม ธรรมนูญสุขภาพ แผนพัฒนาตำบล เพื่อแก้ไข ปัญหาโรคเชื้อไวรัสสายพันธ์ใหม้ COVID-19 จำนวน 100 คน ประกอบด้วยผู้แทนหมู่ละ 5 คน จำนวน 90 คน และหน่วยงาน 10 คน -งบประมาณ ค่าอาหารกลางวัน 50X100คน เท่ากับ 5000 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท X 100 คน เท่ากับ 5000 บาท
    ค่าวิทยากร 2 ชั่วโมงๆละ 300 บาท เท่ากับ 600 บาท รวมทั้งสิ่น 10600 บาท

    งบประมาณ 10,600.00 บาท
  • 5. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถอดบทเรียนการทำงานโครงการ
    รายละเอียด

    ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 25 คน เท่ากัน 1250 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 100 คน เท่ากับ 1250 บาท ค่าวิทยากร 3 ชั่วโมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท ค่าวัสดุอุปกรณ์ 500 บาท ค่าจัดทำรูปเล่ม 500 บาท รวมทั้งสิ้น 4400 บาท

    งบประมาณ 4,400.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

ม.1-18 ตำบลละงู อำเภอละงู

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 82,300.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.ประชาชนมีความรู้ในเรื่องสุขภาพและความสำคัญของการออกกำลังกายได้ 2.ประชาชนเกิดการตื่นตัวในการออกกำลังกายและมีสุขภาพแข้งแรงโดยการออกกำลังกายอย่างสมำ่เสมอ 3.ประชานทุกกลุ่มวัยที่เข้าร่วมโครงการมีการออกกำลังกายอย่างถูกวิธีและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 4.สามารถส่งเสริมความสามัคคีแก่หมู่คณะ 5.เป็นแบบอย่างการส่งเสริมสุขภาพแก่ชุมชนต่อไป

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 82,300.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................