กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบัณฑิตอาสา ต.ควนขัน ห่วงใยใส่ใจ ปลอดบุหรี่

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

บัณฑิตอาสาบ้านกะดุ

1.นางณัฐกมล หวั่นเส้ง 080-5408422
2. นางสาวนารมา ยิบตี
3. นางฮาเสี๊ยะ ดำดี
4. นายสัมนา เส็นติระ
5.นายฮาดาลี่ นันทสิน

หมู่ที่ 2. บ้านกะดุ ตำบลควนขัน อ.เมืองสตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานยาสูบ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและเยาวชน(อายุไม่เกิน 25 ปี) ที่สูบบุหรี่

 

50.00
2 จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี (คน)

 

65.00
3 ร้อยละของผู้ได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน

 

50.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน

อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

50.00 25.00
2 เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน

อัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้านของตนเองลดลงเหลือ(ร้อยละ)

50.00 25.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมชึ้แจงโครงการและรับสมัครกลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
ประชุมชึ้แจงโครงการและรับสมัครกลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมชี้แจงโครงการแก่คณะทำงานและรับสมัครกลุ่มเป้าหมายในเข้าร่วมกิจกรรม

ค่าใช้จ่าย

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 40 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มีนาคม 2564 ถึง 2 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 คณะทำงานมีความเข้าใจกับโครงการ
2 กำหนดกลุ่มเป้าหมายในโครงการได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้แก่เยาวชนเกี่ยวกับโทษของการสูบบุหรี่และผลกระทบจากควันบุหรี่

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้แก่เยาวชนเกี่ยวกับโทษของการสูบบุหรี่และผลกระทบจากควันบุหรี่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้แก่ประชาชนที่อยาก ลด ละ เลิกบุหรี่ กลุ่มอายุต่ำกว่า 25 ปี จำนวน 1 วัน
จัดทำข้อตกลงร่วมกันในการไม่สูบบุหรี่ภายในบ้าน รับสมัคร ผู้สนใจเลิกสูบบุหรี่ เพื่อส่งเเข้าระบบรับคำปรึกษา
ค่าใช้จ่าย
- ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 4 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 2400 บาท
-ค่าเอกสารจำนวน 40 ชุด ชุดละ 30 บาท = 1200
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม40 คนๆละ 25 บาท* 1 มื้อ = 1000 บาท
-ค่าอาหารกลางวัน 40 คนๆละ 60 บาท = 2400 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
5 มีนาคม 2564 ถึง 5 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ประชาชนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายในโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบุหรี่ และผลกระทบกับคนรอบข้าง
  • เพื่อให้กลุ่มเยาวชนเป็นกลุ่มตัวอย่าง ในการ ลด ละ เลิกบุหรี่
  • เมื่อเยาวชนได้รับความรู้สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน ลด ละ เลิกบุหรี่
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7000.00

กิจกรรมที่ 3 อบรมกลุ่มเยาวชนอาสาสมัครอาสาพาเลิกบุหรี่

ชื่อกิจกรรม
อบรมกลุ่มเยาวชนอาสาสมัครอาสาพาเลิกบุหรี่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดตั้งกลุ่มอาสาสมัครอาสาพาเลิกบุหรี่ บ้านป่าหว้า จำนวน 10 คน และมอบหมายงานในเรื่องการรณรงค์สื่อในพื้นที่
1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 10 คน ๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน 600 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 10 คน ๆ ละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 500 บาท
3. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 1 เมษายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดกลุ่มอาสาสมัครอาสาพาเลิกบุหรี่ บ้านป่าหว้า จำนวน 10 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4100.00

กิจกรรมที่ 4 จัดทำสื่อรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ในพื้นที่ มัสยิด โรงเรียน ร้านค้าและเสียงตามสายในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
จัดทำสื่อรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ในพื้นที่ มัสยิด โรงเรียน ร้านค้าและเสียงตามสายในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดทำสื่อรณรงค์ประเภทป้ายไวนิลและสติ๊กเกอร์
2.รณรงค์เสียงตามสายของหมู่บ้าน
3.ให้ความรู้ในช่วงวันศุกร์(ละหมาดวันศุกร์)
ค่าใช้จ่าย
1. ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1×1.2 เมตร จำนวน 10 แผ่น แผ่นละ 350 บาท เป็นเงิน 3500 บาท
2. ค่าสติกเกอร์ จำนวน 300 แผ่นละ 10 บาท เป็นเงิน 3000 บาท
3.ค่าจ้างผลิตสื่อเสียง รณรงค์การไม่สูบบุหรี่ใรที่สาธารณะ เป็นเงิน1000บาท สามารถขอสนับสนุนสื่อเพิ่มเติมได้ทึ่มูลนิธิเพื่อการไม่สูบบุหรี่

ระยะเวลาดำเนินงาน
5 เมษายน 2564 ถึง 25 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดสื่อรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ในชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7500.00

กิจกรรมที่ 5 คนต้นแบบปลอดควันบุหรี่

ชื่อกิจกรรม
คนต้นแบบปลอดควันบุหรี่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สำรวจข้อมูลการปรับเปี่ยนพฤติกรรม และมอบเกียรติบัตรให้แก่ครัวเรือนปลอดบุหรี่

1.ค่าเกียรติบัตรพร้อมกรอบ จำนวน 30 ชุด ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน4,500 บาท

2.ค่าเอกสาร = 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 กันยายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประเมินและติดตามผู้ที่เข้าร่วมการจัดกิจกรรมอบรมว่ามีการ ลด ละ เลิก บุหรี่ มีผลมากน้อยแค่ไหน มีผลทางด้านบวกอย่างไร สุขภาพดีขึ้นไหม มีโรคแทรกซ้อนหรื่อไม่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 21,400.00 บาท

หมายเหตุ :
หมายเหตุทุกรายการสามารถถั่วเฉลี่ยได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

-เพื่อลดอัตรการเลิกบุหรี่ของเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี
-สุขภาพของประชาชนดีขึ้นไม่เจ็บป่วยจากโรคที่เกิดจากบุหรี่ เช่น โรคมะเร็งปอด
-เพื่อควบคุมการสูบบุหรี่ในพื้นที่สาธารณะ


>