กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการเสริมพลังควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้องรังในหมู่บ้านห้วยมะพร้าว ปีงบประมาณ 2564

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเสริมพลังควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้องรังในหมู่บ้านห้วยมะพร้าว ปีงบประมาณ 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ 11 บ้านห้วยมะพร้าว ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

1.นายประเวทย์ หนูวงศ์
2.นายเจ๊ะหวัง ราเย็น
3.นายอดิศร บูหวัง
4.นางฮอดีย๊ะราเย็น
5.นางณัฐชา สายเส็น

หมู้ 11 บ้านห้วยมะพร้าว ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

การใช้ชีวิตประจำวันของเราในปัจจุบันมีสิ่งอำนวยความสะดวกมากขึ้น ทำให้เรามีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลงรวมทั้งการรับประหนอหารในปริมาณที่มากเกินความต้องการของร่างกาย รับประทานอาหารรสหวานจัด เค็มจัด และอาหารที่มีไขมันสูง เหล่นี้จะทำใหเกิดภาวะอ้วน เกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมองซึ่งอาจจะตีบหรืแตกได้ นอกจากนี้ การสูบบุหรี่เป็นประจำ ก็จะทำให้เกิดโรคถุงลมโป้งพอง รวมทั้งโรคมะเร็ตง ๆ ได้ เมื่ประกอบกัความเครียดและการพักผ่อนไม่เพียงพอรวมกันและสะสมเรื้อรั้งไปนาน ๆ ก็ไปสู่การเกิดกลุ่มโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง ขึ้นได้ ซึ่งก็จะทำให้มีค่ใช้จ่ายในการรักษาโรคสูง รวมทั้งบางโรคยังรุนแรงถึงขั้นเสียวิตได้ สำหรับผู้ที่ป่วยเป็นกลุ่มโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง แล้ว แพทย์จะมีวิธีการรักษาที่จำเพาะต่อโรคที่แตกต่างกันไป สำหรับผู้ที่มีน้ำหนัตัวเกิน จะแนะนำให้ลดน้ำหนัก โดยการลดน้ำหนักให้ได้อย่างน้อย ๕% ของน้ำหนักตัว ตั้งต้น ก็จะมีผลในการลดระดับน้ำตลและควบคุมความดันโลหิตได้ สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน จะแนะนำให้หลีกเลี่ยงของเชื่อม และอาหารในกลุ่มน้ำหวานต่าง ๆ สำหรับผู้ที่มีปัญหาในเรื่องของความดันโลหิตสูงควรงดการรับประทานอหารรสเค็ม นอกจกนี้ควรออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอให้ได้อย่างน้อย ๓๐ นาทีต่อวัน รวมให้ได้ ๑๕๐นาที่ต่อสัปดาห์ รวมทั้งรับประทานยาเป็นประจำและไปพบแพทย์อย่างสม่ำเสมอบ้านห้วยมะพร้าวหที่ ๑ด ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล มีผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง แบ่งเป็นโรคความดันจำนวน ๖๗ คน และโรคเบาหวาน จำนวน ๓๐ คน (ฐานข้อมูล HDCจังหวัดสตูล วันที่ ด๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๓) เข้ารับบริการรักษาเป็นคนไข้ประจำคลินิคในโรพยบาลละงูและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยไทร รับยาต่อเนื่องทุก ๓ เดือน ผลปรากฏว่า ผู้ป่วยมีการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้เพียง ร้อยละ ๑๐ ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์กระทรวงสาธารณสุขกำหนดที่ ร้อยล ๔๐ ส่วนโรคความดัน มีผู้ป่วยควบคุมระดับความดันได้เพียง ร้อยละ ๔๗). ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ที่ ร้อยละ ๕๐ และยังพบผู้ป่วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้น ๖ คน จากปี พ.ศ.o๕๖o ชี้ให้เห็นว่ประชาชนยังขาดความตระนักและให้ความสำคัญกับในพฤติกรมบริโภค กิจกรรมทางกาย รวมถึงสารเสพติดจากความสำคัญของปัญหาสุขภาพข้างตัน ชมรมอสาสมัครสรารณสุขประจำหมู่บ้านห้วยมะพร้าว หมู่ที่ ๑ด
ตำบลละงู อำเภอละ จังหวัดสตูล จึได้จัดโครการเสริมพลังควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในหมู่บ้านห้วยมะพร้าวปีงบประมาณ bb๔ เพื่อจัดการสุขภาพผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในระดับหมู่บ้านและครัวเรือน ในการควบคุมระดับความ
ดันและน้ำตลในเลือด โดยมีเจ้าหน้ที่สรารณสุขเป็นที่ปรึกษาและแก้ปัญหาสุขภาพไปด้วยกัน ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมการรวมพลังภาคีเครือข่าย ร่วมรณรงค์ลดป่วย ลดโรค สู่หมู่บ้านสุขภาวะที่ดีและยั่งยืนต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ไขปัญหาผู้ป่วยโรคเรื้อรังและปรับพฤติกรรมสุขภาพในพื้นที่

ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเรื้อรังมีความดันที่ลดลง

0.00 0.00
2 . เพื่อติดตาม ประเมินสถานะสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคความดันและโรคเบาหวานและกระตุ้นให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
  • กลุ่มเป้าหมายควบคุมระดับการป่วยได้ตามเกณฑ์ดังนี้ ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 40
    ควบคุมความดันได้ <140/90 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2021

กำหนดเสร็จ 31/08/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน/ถอดบทเรียน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงาน/ถอดบทเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กลุ่มเป้าหมาย : อสม. ตัวแทนกลุ่มป่วยโรคความดัน โรคเบาหวาน ผู้นำชุมชน ผู้นำมัสยิด กลุ่มสตรี
- ถอดบทเรียนปัญหาและพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคความดัน โรคเบาหวานในพื้นที่
- วางแผนดำเนินงานควบคุม แก้ปัญหาสุขภาพ
- กำหนดแนวทางปฏิบัติในการจัดการสุขภาพกลุ่มป่วย
- มอบหมายภารกิจการดำเนินการ
งบประมาณ
- ค่าอาหารกลางวัน ๕๐ บ.x ๓๐ คน= ๑,๕๐๐ บ.
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒๕ บ.x ๒ มื้อ x ๓๐ คน = ๑,๕๐๐ บ .
- ค่าวิทยากร ๖๐๐ บ.x ๕ ชม. = ๓,๐๐๐ บ.
- ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการและป้ายรณรงค์ ๕๐๐ บาท x ๒ แผ่น = ๑,๐๐๐ บ.
รวมเงิน ๗,๐๐๐ บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 31 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • คณะทำงานมีความเข้าใจแผนงานโครงการ
  • คณะทำงานได้มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ในการขับเคลื่อนการทำงานร่วมกัน
  • ได้บทเรียนการทำงานประเด็นโรคเรื้อรังในพื้นที่เพื่อนำไปสู่การวางแผนงานต่อไป
  • ทราบปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนและนำสาเหตุไปแก้ไขได้
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7000.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเรื้อรังและพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย : ผู้ป่วยโรคความดัน โรคเบาหวาน โรคเส้นเลือดในสมอง และโรคหัวใจ

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเรื้อรังและพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย : ผู้ป่วยโรคความดัน โรคเบาหวาน โรคเส้นเลือดในสมอง และโรคหัวใจ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 อบรมให้ความรู้
- หลัก 3 อ 2 ส - พฤติกรรมเสี่ยงก่อโรคเรื้อรัง - ประเมินความเครียด
1.2 ฝึกปฏิบัติกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม - กายบริหาร ยืดเหยียด และการใช้แรงต้าน - การเดินแกว่งแขน งบประมาณ ค่าวิทยากร 6๐๐ บ.x 5 ชม.
= 3,000 บ. ค่าอาหารกลางวัน ๕๐ บ.x ๕๐ คน = 2,500 บ. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒๕ บ.x ๒ มื้อ x ๕๐คน = 2,500 บ. ค่าถ่ายเอกสารสื่อความรู้และแบบประเมินความเครียด 10 บ. x 50 ชุด = 500 บาท
รวมเงิน 8,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 31 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้หลังการอบรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8500.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมตรวจสุขภาพผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมตรวจสุขภาพผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

3.1 จัดซื้อวัสดุ / อุปกรณ์ 3.2 ตรวจสุขภาพ - ตรวจความดัน - ตรวจน้ำตาลปลายนิ้ว Dtx -ให้ความรู้สุขศึกษาส่วนบุคคลโดยอสม.ที่คัดกรอง
- บันทึกผลรายครั้ง ประจำเดือน *วัสดุสิ้นเปลือง ได้แก่ หัวเจาะปลายนิ้วและแถบอ่านค่าระดับน้ำตาล ขอความอนุเคราะห์ รพ.สต.บ้านห้วยไทร *อสม.ผู้ทำหน้าที่ตรวจผ่านการอบรมการตรวจจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข งบประมาณ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒๕ บ.x ๑ มื้อ x 50 คน x 8 ครั้ง =10,๐๐๐ บ. เครื่องวัดความดัน จำนวน 1 เครื่อง
= 2,800 บ. เครื่องตรวจระดับน้ำตาลในเลือด จำนวน 1 เครื่อง = 3,500 บาท รวมเป็นเงิน 16,300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายควบคุมระดับการป่วยได้ตามเกณฑ์ดังนี้ ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๔๐ (น้ำตาลในเลือดสะสมจากการตรวจสุขภาพประจำปี ๒๕๖๔ <8) ควบคุมความดันได้ <๑๔๐/๙๐ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16300.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 31,800.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถควบคุมหรือลดระดับการป่วยได้ และมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
2. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนมีแนวโน้มลดลง


>