กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการเสริมพลังควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้องรังในหมู่บ้านห้วยมะพร้าว ปีงบประมาณ 2564
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ 11 บ้านห้วยมะพร้าว ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
กลุ่มคน
1.นายประเวทย์ หนูวงศ์
2.นายเจ๊ะหวัง ราเย็น
3.นายอดิศร บูหวัง
4.นางฮอดีย๊ะราเย็น
5.นางณัฐชา สายเส็น
3.
หลักการและเหตุผล

การใช้ชีวิตประจำวันของเราในปัจจุบันมีสิ่งอำนวยความสะดวกมากขึ้น ทำให้เรามีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลงรวมทั้งการรับประหนอหารในปริมาณที่มากเกินความต้องการของร่างกาย รับประทานอาหารรสหวานจัด เค็มจัด และอาหารที่มีไขมันสูง เหล่นี้จะทำใหเกิดภาวะอ้วน เกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมองซึ่งอาจจะตีบหรืแตกได้ นอกจากนี้ การสูบบุหรี่เป็นประจำ ก็จะทำให้เกิดโรคถุงลมโป้งพอง รวมทั้งโรคมะเร็ตง ๆ ได้ เมื่ประกอบกัความเครียดและการพักผ่อนไม่เพียงพอรวมกันและสะสมเรื้อรั้งไปนาน ๆ ก็ไปสู่การเกิดกลุ่มโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง ขึ้นได้ ซึ่งก็จะทำให้มีค่ใช้จ่ายในการรักษาโรคสูง รวมทั้งบางโรคยังรุนแรงถึงขั้นเสียวิตได้ สำหรับผู้ที่ป่วยเป็นกลุ่มโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง แล้ว แพทย์จะมีวิธีการรักษาที่จำเพาะต่อโรคที่แตกต่างกันไป สำหรับผู้ที่มีน้ำหนัตัวเกิน จะแนะนำให้ลดน้ำหนัก โดยการลดน้ำหนักให้ได้อย่างน้อย ๕% ของน้ำหนักตัว ตั้งต้น ก็จะมีผลในการลดระดับน้ำตลและควบคุมความดันโลหิตได้ สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน จะแนะนำให้หลีกเลี่ยงของเชื่อม และอาหารในกลุ่มน้ำหวานต่าง ๆ สำหรับผู้ที่มีปัญหาในเรื่องของความดันโลหิตสูงควรงดการรับประทานอหารรสเค็ม นอกจกนี้ควรออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอให้ได้อย่างน้อย ๓๐ นาทีต่อวัน รวมให้ได้ ๑๕๐นาที่ต่อสัปดาห์ รวมทั้งรับประทานยาเป็นประจำและไปพบแพทย์อย่างสม่ำเสมอบ้านห้วยมะพร้าวหที่ ๑ด ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล มีผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง แบ่งเป็นโรคความดันจำนวน ๖๗ คน และโรคเบาหวาน จำนวน ๓๐ คน (ฐานข้อมูล HDCจังหวัดสตูล วันที่ ด๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๓) เข้ารับบริการรักษาเป็นคนไข้ประจำคลินิคในโรพยบาลละงูและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยไทร รับยาต่อเนื่องทุก ๓ เดือน ผลปรากฏว่า ผู้ป่วยมีการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้เพียง ร้อยละ ๑๐ ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์กระทรวงสาธารณสุขกำหนดที่ ร้อยล ๔๐ ส่วนโรคความดัน มีผู้ป่วยควบคุมระดับความดันได้เพียง ร้อยละ ๔๗). ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ที่ ร้อยละ ๕๐ และยังพบผู้ป่วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้น ๖ คน จากปี พ.ศ.o๕๖o ชี้ให้เห็นว่ประชาชนยังขาดความตระนักและให้ความสำคัญกับในพฤติกรมบริโภค กิจกรรมทางกาย รวมถึงสารเสพติดจากความสำคัญของปัญหาสุขภาพข้างตัน ชมรมอสาสมัครสรารณสุขประจำหมู่บ้านห้วยมะพร้าว หมู่ที่ ๑ด ตำบลละงู อำเภอละ จังหวัดสตูล จึได้จัดโครการเสริมพลังควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในหมู่บ้านห้วยมะพร้าวปีงบประมาณ bb๔ เพื่อจัดการสุขภาพผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในระดับหมู่บ้านและครัวเรือน ในการควบคุมระดับความ ดันและน้ำตลในเลือด โดยมีเจ้าหน้ที่สรารณสุขเป็นที่ปรึกษาและแก้ปัญหาสุขภาพไปด้วยกัน ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมการรวมพลังภาคีเครือข่าย ร่วมรณรงค์ลดป่วย ลดโรค สู่หมู่บ้านสุขภาวะที่ดีและยั่งยืนต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อแก้ไขปัญหาผู้ป่วยโรคเรื้อรังและปรับพฤติกรรมสุขภาพในพื้นที่
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเรื้อรังมีความดันที่ลดลง
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 0.00
  • 2. . เพื่อติดตาม ประเมินสถานะสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคความดันและโรคเบาหวานและกระตุ้นให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
    ตัวชี้วัด : - กลุ่มเป้าหมายควบคุมระดับการป่วยได้ตามเกณฑ์ดังนี้ ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 40 ควบคุมความดันได้ <140/90 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุมคณะทำงาน/ถอดบทเรียน
    รายละเอียด

    กลุ่มเป้าหมาย : อสม. ตัวแทนกลุ่มป่วยโรคความดัน โรคเบาหวาน ผู้นำชุมชน ผู้นำมัสยิด กลุ่มสตรี
    - ถอดบทเรียนปัญหาและพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคความดัน โรคเบาหวานในพื้นที่
    - วางแผนดำเนินงานควบคุม แก้ปัญหาสุขภาพ
    - กำหนดแนวทางปฏิบัติในการจัดการสุขภาพกลุ่มป่วย
    - มอบหมายภารกิจการดำเนินการ
    งบประมาณ
    - ค่าอาหารกลางวัน ๕๐ บ.x ๓๐ คน= ๑,๕๐๐ บ.
    - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒๕ บ.x ๒ มื้อ x ๓๐ คน = ๑,๕๐๐ บ .
    - ค่าวิทยากร ๖๐๐ บ.x ๕ ชม. = ๓,๐๐๐ บ.
    - ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการและป้ายรณรงค์ ๕๐๐ บาท x ๒ แผ่น = ๑,๐๐๐ บ.
    รวมเงิน ๗,๐๐๐ บาท

    งบประมาณ 7,000.00 บาท
  • 2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเรื้อรังและพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย : ผู้ป่วยโรคความดัน โรคเบาหวาน โรคเส้นเลือดในสมอง และโรคหัวใจ
    รายละเอียด

    1.1 อบรมให้ความรู้
    - หลัก 3 อ 2 ส - พฤติกรรมเสี่ยงก่อโรคเรื้อรัง - ประเมินความเครียด
    1.2 ฝึกปฏิบัติกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม - กายบริหาร ยืดเหยียด และการใช้แรงต้าน - การเดินแกว่งแขน งบประมาณ ค่าวิทยากร 6๐๐ บ.x 5 ชม.
    = 3,000 บ. ค่าอาหารกลางวัน ๕๐ บ.x ๕๐ คน = 2,500 บ. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒๕ บ.x ๒ มื้อ x ๕๐คน = 2,500 บ. ค่าถ่ายเอกสารสื่อความรู้และแบบประเมินความเครียด 10 บ. x 50 ชุด = 500 บาท
    รวมเงิน 8,500 บาท

    งบประมาณ 8,500.00 บาท
  • 3. กิจกรรมตรวจสุขภาพผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
    รายละเอียด

    3.1 จัดซื้อวัสดุ / อุปกรณ์ 3.2 ตรวจสุขภาพ - ตรวจความดัน - ตรวจน้ำตาลปลายนิ้ว Dtx -ให้ความรู้สุขศึกษาส่วนบุคคลโดยอสม.ที่คัดกรอง
    - บันทึกผลรายครั้ง ประจำเดือน *วัสดุสิ้นเปลือง ได้แก่ หัวเจาะปลายนิ้วและแถบอ่านค่าระดับน้ำตาล ขอความอนุเคราะห์ รพ.สต.บ้านห้วยไทร *อสม.ผู้ทำหน้าที่ตรวจผ่านการอบรมการตรวจจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข งบประมาณ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒๕ บ.x ๑ มื้อ x 50 คน x 8 ครั้ง =10,๐๐๐ บ. เครื่องวัดความดัน จำนวน 1 เครื่อง
    = 2,800 บ. เครื่องตรวจระดับน้ำตาลในเลือด จำนวน 1 เครื่อง = 3,500 บาท รวมเป็นเงิน 16,300 บาท

    งบประมาณ 16,300.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู้ 11 บ้านห้วยมะพร้าว ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 31,800.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถควบคุมหรือลดระดับการป่วยได้ และมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
  2. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนมีแนวโน้มลดลง
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 31,800.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................