กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายจัดการโรคไข้เลือดออกอย่างยั่งยืน ปีงบประมาณ 2564
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยไทร ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
3.
หลักการและเหตุผล

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 8 ธันวาคม 2563 (ข้อมูลจากระบบรายงาน การเฝ้าระวังโรค 506 สำนักระบาดวิทยา) ประเทศไทย มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก (Dengue fever : DF, Dengue hemorrhagic fever : DHF, Dengue shock syndrome : DSS) สะสมรวม ๖๘,๔๐๘ ราย อัตราป่วย 103.18 ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต 50 ราย สำหรับในพื้นที่เขต 12 พบผู้ป่วย 3,511 ราย อัตราป่วย 70.78 ต่อประชากรแสนคน ผู้ป่วยเสียชีวิต 6 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.17 จังหวัดที่พบอัตราป่วยสูงสุดคือ จังหวัดสงขลา 85.06 ต่อประชากรแสนคน (1,215 ราย) รองลงมา คือ จังหวัดนราธิวาส 74.81 ต่อประชากรแสนคน (598 ราย) และจังหวัดปัตตานี อัตราป่วย 74.94 ต่อประชากรแสนคน (535 ราย)
จากสถานการณ์ในจังหวัดสตูล มีผู้ป่วยสะสมปี 2563 จำนวน 50 ราย อัตราป่วย 15.59 ต่อประชากรแสนคน และไม่ปรากฎผู้เสียชีวิต อำเภอที่มีอัตราป่วยสูงสุด 3 อันดับ ได้แก่ อำเภอมะนัง อัตราป่วย 33.14 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาอำเภอท่าแพ อัตราป่วย 23.97 ต่อประชากรแสนคน และอำเภอควนกาหลง อัตราป่วย 20.13 ต่อประชากรแสนคน ส่วนอำเภอละงู มีอัตราป่วยเพียง 9.72 ต่อประชากรแสนคน และยังไม่พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยไทร ทั้ง 7 หมู่บ้าน ซึ่งนับว่าเป็นความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานเชิงรุกในพื้นที่ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายต่างๆในชุมชน และตามที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยไทรได้มีการจัดทำระบบการแก้ปัญหาในพื้นที่ร่วมกับเครือข่ายในชุมชุมอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 ถึงปัจจุบัน โดยมีการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพเครือข่าย ได้แก่ 1) การเตรียมความพร้อมก่อนเกิดการระบาด เช่นการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เคมีภัณฑ์กำจัดยุง 2) การซ้อมแผนขณะเกิดการระบาด โดยการจำลองเหตุการณ์การระบาดในพื้นที่ มีการมอบหมายภารกิจขับเคลื่อนการดำเนินงาน และ 3)การป้องกันโรคในภาวะปกติ ด้วยการสำรวจและเฝ้าระวังค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย โดยพัฒนาระบบรายงานผลการสำรวจออนไลน์ ดังนั้นเพื่อการคงไว้ซึ่งระบบในการควบคุมป้องกันโรคดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยไทรจึงได้จัดโครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายจัดการโรคไข้เลือดออกอย่างยั่งยืน ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ เพื่อจัดการการป้องกันควบคุมโรคในชุมชนให้มีประสิทธิภาพด้วยการเสริมพลังการทำงานของเครือข่ายในชุมชนอย่างมีระบบและยั่งยืนต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1.เพื่อทบทวนองค์ความรู้ในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกแก่เครือข่าย
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้หลังการอบรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อให้อบรมการใช้งานระบบรับแจ้งผู้ป่วยและการรายงานผลการดำเนินงานผ่าน Social media
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 80 ผ่านการทดสอบปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อกำหนดโมเดล Huaisai Preventive Disease : HPD Model
    ตัวชี้วัด : - โมเดลมีการเผยแพร่แก่หน่วยบริการอื่น อย่างน้อย 1 แห่ง
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 0.00
  • 4. เพื่อสร้างความตระหนักในการ กำจัด ทำลายลูกน้ำยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์และให้ความรู้ประชาชน
    ตัวชี้วัด : - ผลการสุ่มค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI/CI ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 0.00
  • 5. เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกและพัฒนาสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาได้รับการป้องกันโรคด้วยการฉีดพ่นเคมีกำจัดยุง
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมเชิงปฏิบัติการ/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (backward history)
    รายละเอียด

    กลุ่มเป้าหมาย : ตัวแทนองค์กร/กลุ่ม/ชมรมในหมู่บ้าน 1.1 บรรยายความรู้เกี่ยวกับการจัดการโรคไข้เลือดออกโดยวิทยาการระดับอำเภอ/จังหวัด 1.2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปัญหา อุปสรรค และความสำเร็จการจัดการโรคไข้เลือดออกแต่ละหมู่บ้าน 1.3 ประเมินความรู้ ก่อน-หลัง วิทยากร : ศูนย์ระบาดวิทยา คปสอ.ละงู งบประมาณ - ค่าอาหารกลางวัน ๕๐ บ.x 35 คน
    เป็นเงิน 1,750 บ. - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒๕ บ.x ๒ มื้อ x 35 คน เป็นเงิน 1,750 บ. - ค่าสมนาคุณวิทยากร 6๐๐ บ.x 6 ชม. เป็นเงิน 3,600 บ. รวมเป็นเงิน 6,500 บ.

    งบประมาณ 6,500.00 บาท
  • 2. 2. อบรมเชิงปฏิบัติการ (Action Disease Prevention practice 1)
    รายละเอียด

    กลุ่มเป้าหมาย : อสม.ที่ใช้สมาร์ทโฟนหมู่ละ 7 คน 2.1 การจัดทำระบบรายงานการดำเนินงานจัดการโรคไข้เลือดออกของผู้ป่วยในชุมชน ด้วย Facebook page
    - การบันทึกข้อมูลทั่วไปของครัวเรือน หมายเลขโทรศัพท์ พิกัดหลังคาเรือน และภาพกิจกรรม one page วิทยากร : ศูนย์ระบาดวิทยา คปสอ.ละงู
    งบประมาณ - ค่าอาหารกลางวัน ๕๐ บ.x 50 คน เป็นเงิน 2,500 บ. - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒๕ บ.x ๒ มื้อ x 50 คน เป็นเงิน 2,500 บ. - ค่าสมนาคุณวิทยากร 6๐๐ บ.x 6 ชม. เป็นเงิน 3,600 บ. รวมเป็นเงิน 8,600 บ.

    งบประมาณ 8,600.00 บาท
  • 3. ปฏิบัติการสุ่มประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI, CI) 7 หมู่บ้าน (Action Disease Prevention practice 2)
    รายละเอียด

    กลุ่มเป้าหมาย : อสม.ทีมป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก จำนวน 20 คน/กรรมการหมู่บ้าน วิทยากรเสริมพลัง : เจ้าหน้าที่ควบคุมโรค คปสอ.ละงู
    - ประชุมวางแผนการออกสุ่มสำรวจโซนเสี่ยงโรคไข้เลือดออก
    - ลงพื้นที่สุ่มสำรวจ/ให้คำแนะครัวเรือนที่สำรวจ - สรุปผลวิเคราะห์ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย งบประมาณ - ค่าอาหารกลางวัน ๕๐ บ.x 25 คน
    x 1 มื้อ x 7 ครั้ง เป็นเงิน 8,750 บ. - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒๕ บ.x 2 มื้อ x 25 คน x 7 ครั้ง เป็นเงิน 8,75๐ บ. - ค่าสมนาคุณวิทยากร 6๐๐ บ.x 1 ชม. x 7 ครั้ง เป็นเงิน 4,200 บ. รวมเป็นเงิน 21,700 บ.

    งบประมาณ 21,700.00 บาท
  • 4. กิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกและพัฒนาสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษาโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่รับผิดชอบ (Action Disease Prevention practice 3) (ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม/พ่นละอองฝอยกำจัดยุง)
    รายละเอียด

    (ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม/พ่นละอองฝอยกำจัดยุง)

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 5. . อบรมเชิงปฏิบัติการ กำหนดโมเดล (Forward History)
    รายละเอียด

    กลุ่มเป้าหมาย : ผู้มีส่วนได้เสียในพื้นที่ (Stakeholder)
    วิทยากรจัดกระบวนการ : ผู้บริหารองค์กร,หัวหน้าฝ่ายควบคุมโรค สสอ.ละงู 5.1 พัฒนาองค์ความรู้ (Education) 3.2 การจัดการโรคและปัญหาสุขภาพในพื้นที่ (Problem Base Learning : PBL) 5.3 ระดมความคิดทบทวนการดำเนินงาน (Brain storming) 5.4 ประเมินผลโครงการ (CIPP Model) 5.5 เขียนโครงร่างโมเดลการจัดการโรคไข้เลือดออกของ รพ.สต.บ้านห้วยไทร Huaisai Preventive Disease : HPD Model
    งบประมาณ - ค่าสมนาคุณวิทยากร 6๐๐ บ.x 6 ชม.x 2 ครั้ง เป็นเงิน 7,200 บ. - ค่าอาหารกลางวัน ๕๐ บ.x ๓0 คน x 1 มื้อ x 2 ครั้ง เป็นเงิน 3,000 บ. - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒๕ บ.x ๒ มื้อ x ๓0 คน x 2 ครั้ง เป็นเงิน 3,000 บ.
    รวมเป็นเงิน 13,200 บ.

    งบประมาณ 13,200.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 4 มกราคม 2564 ถึง 28 พฤษภาคม 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

บ้านห้วยไทร ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 50,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. จำนวนผู้ป่วย ปี 25๖4 ไม่เกินเกณฑ์ อัตราป่วย ๕๐ ต่อประชากรแสนคน
    1. เครือข่ายสามารถจัดการควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพกรณีเกิดการระบาดในพื้นที่
    2. ประชาชนตระหนักและมีพฤติกรรมป้องกันตนเองส่งผลให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายลดลง
    3. ไม่พบการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในกลุ่มวัยเรียนในสถานศึกษา
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 50,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................