กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการลดโรคลดเสี่ยงหลีกเลี่ยงเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง รพสต.บ้านตลิ่งชัน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว

รพ.สต.บ้านตลิ่งชัน

รพ.สต.บ้านตลิ่งชัน

หมู่ที่ 1 23 8 9

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1.เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชันมีความรู้เกี่ยวกับภาวะสุขภาพและได้รับการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานความดันจากเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุข
2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
3.ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในประชาชนกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/12/2020

กำหนดเสร็จ 31/07/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมคัดกรอง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมคัดกรอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะสุขภาพและการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในกลุ่มเป้าหมาย -ออกตรวจคัดกรองสุขภาพ/วัดรอบเอว/คัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตามมาตรฐาน จำนวน 5หมู่บ้าน งบประมาณ -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 2,140 คน×15 บาท = 32100 -ค่าถ่ายเอกสารแบบเชิญคัดกรอง0.5x 2,140 ชุด=1070 -ค่าแถบตรวจน้ำตาลในเลือดจำนวน 45 กล่อง× 390บาท = 17550 บาท -ค่าถ่ายเอกสารแบบใบแจ้งผลการคัดกรองจำนวน 2,140 ชุด × 0.5 บาท =1070 -ค่าเครื่องเจาะน้ำตาล1 เครื่องๆละ 1,500 บาท=1500 -ค่าป้ายโครงการ 1*3 เมตร =450

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90 อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลดลงร้อยละ 20 การเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังน้อยกว่าร้อยละ 20

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
53740.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-จัดอบรมกลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม งบประมาณ -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มกลุ่มเสี่ยง100คนๆละ2วันๆละ 2มื้อๆ25บาท =5000 -ค่าอาหารกลางวันกลุ่มเสี่ยง 100คน×1 มื้อๆละ80 บาท(บุพเฟ่ห์)=8000 -ค่าแผ่นตรวจไขมันในเลือดจำนวน 4 กล่องๆ× 3,500 บาท=14000 -ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 5 ชม×600 บาท=3000

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90 อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลดลงร้อยละ 20 การเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังน้อยกว่าร้อยละ 20

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
30000.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมเฝ้าระวังการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมเฝ้าระวังการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-อบรมให้ความรู้กลุ่มป่วยเรื้อรังเพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน งบประมาณ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จำนวน 80 คน x 25 บาท x 10 ครั้ง=20000 -ค่ากระเป๋ายาเตือนใจจำนวน80 อัน x 100บาท=8000 -ค่าสมุดประจำตัวผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 80เล่มx 50 บาท=4000

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90 -อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลดลงร้อยละ 20

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
32000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 115,740.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ครอบคลุมมากกว่าร้อยละ 90
2.ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านสุขภาพของคนในชุมชน
3.ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในประชาชนกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง


>