กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรน่า (covic 19) ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส ปี 2564 ”

ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สว.นอก

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรน่า (covic 19) ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2532-1-05 เลขที่ข้อตกลง 03/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรน่า (covic 19) ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส ปี 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรน่า (covic 19) ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรน่า (covic 19) ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2532-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,595.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล เชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 หรือ COVID-19 เป็นไวรัสข้ามสายพันธุ์ที่สันนิษฐานว่าเกิดจากค้างคาวมาติดเชื้อในคน โดยเริ่มระบาดในมณฑลอู่ฮั่นของประเทศจีนในช่วงปลายปี ค.ศ.2019 จนกระทั่งมีการระบาดไปยังประเทศอื่นๆทั่วโลก สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 มีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น อย่างต่อเนื่อง องค์การอนามัยโลกได้ประกาศว่าการแพร่ระบาดของเชื้อดังกล่าวเป็นภัยพิบัติฉุกเฉินระดับโลก ขณะเดียวกันประเทศไทยได้ประกาศให้โรคติดเชื้อ COVID-19 เป็นโรคติดต่ออันตราย ภายใต้พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ลำดับที่ 14 เพื่อให้สามารถใช้ข้อกำหนดตาม พ.ร.บ.ดังกล่าว ในการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค สามารถควบคุมโรคได้มีประสิทธิภาพ ลดผลกระทบทางเศรษฐกิจ และสังคม ปัจจุบันการระบาดขยายเป็นวงกว้างไปหลายประเทศทั่วโลก
ศูนย์ปฏิบัติการด้านข่าว โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรมควบคุมโรคติดต่อ กระทรวงสาธารณสุข รายงานสถานการณ์ข้อมูลการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19) ณ วันที่ 2 มกราคม 2564 (เวลา 12.00 น.) ประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยัน จำนวน 7,379 ราย ผู้ป่วยรายใหม่ 216 ราย รักษาหาย 4,299 ราย เสียชีวิต 64 ราย และจังหวัดนราธิวาส พบผู้ป่วยยืนยัน 44 ราย ผู้ป่วยรายใหม่ 0 ราย รักษาหาย 41 ราย เสียชีวิต 2 ราย ส่วนอำเภอสุคิริน มีผู้ป่วยยืนยัน จำนวน 2 ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 8 มีนาคม 2563 )
การป้องกันการติดเชื้อสามารถทำได้โดยหลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาดของเชื้อ COVID-19 การสัมผัสกับผู้ป่วย หรือผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ หากสงสัยว่าตนเองอาจจะได้รับเชื้อควรแยกสังเกตอาการอย่างน้อย 14 วัน ขณะแยกสังเกตอาการต้องงดการเดินทางหรืออยู่ในที่ที่มีคนหนาแน่น งดใช้สิ่งของส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น และควรปฏิบัติตามคำแนะนำของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด รวมถึงมีการบูรณาการทุกภาคส่วน เครื่องมือ ทรัพยากรและงบประมาณเพื่อสนับสนุนบทบาทของภาคีเครือข่าย ร่วมกันขับเคลื่อนยกระดับการรับรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชน ให้มีความรอบรู้ในการดูแลตนเอง ครอบครัว สังคม และมีส่วนร่วมในการกำหนดมาตรการต่างๆในการรับมือการแพร่ระบาดเชื้อ COVID-19 เพราะการรับรู้และบทบาทการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นปัจจัยสำคัญที่จะทำให้ประเทศไทยผ่านพ้นวิกฤตครั้งนี้ได้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสว.นอก จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (covic 19)ขึ้น เพื่อสร้างเครือข่ายในการขับเคลื่อนให้ชุมชนสามารถสื่อสารข้อมูลและการป้องกันโรคที่ถูกต้อง สามารถปรับตัวเข้ากับวิถีการดำรงชีวิตแบบใหม่เพื่อให้ปลอดภัยจากการติดเชื้อ ไวรัสโคโรน่า 2019 ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรอบรู้ในการปฏิบัติตนที่ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ COVID-19 (คน)
  2. 2. เพื่อให้พื้นที่เป้าหมายเสี่ยง ที่ประชาชนมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน/สถานบริการและสถานประกอบการ /ประชากรกลุ่มเสี่ยง มีการปฏิบัติตามแนวทาง/มาตรการ/มาตรฐานที่กำหนดตามเกณฑ์ความปลอดภัยจากการติดเชื้อ COVID 19 (แห่ง)
  3. 3 เพื่อสร้างความเข็มแข็ง ส่งเสริมสนับสนุน บทบาทของภาคประชาชนและภาคีเครือข่ายในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ COVID 19 (หมู่)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1.ประชุมทีมอสม.และเครือข่าย ในพื้นที่รับผิดชอบ
  2. กิจกรรมที่ 2.สำรวจข้อมูลพื้นฐานพื้นที่เป้าหมายในชุมชน
  3. กิจกรรมที่ 3.พื้นที่เป้าหมายเสี่ยงประเมินตนเองตามมาตรการ การเฝ้าระวังการป้องกันควบคุมโรคไวรัสโคโรน่า (covic 19)
  4. กิจกรรมที่ 4.จัดซื้อ วัสดุ/เครื่องมือ ในการปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรค
  5. กิจกรรมที่ 5สร้างเครื่องมือ เพื่อประเมินความรู้และพฤติกรรมในการ ป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า 2019
  6. กิจกรรมที่ 8.ทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคฯระดับหมู่บ้าน ดำเนินการเฝ้าระวังตามมาตรการ
  7. กิจกรรมที่ 6.ทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคฯระดับหมู่บ้าน ลงสำรวจและประเมินโดยใช้เครื่องมือแบบสอบถาม
  8. กิจกรรมที่ 7. สรุปผลการประเมิน/คืนข้อมูลให้ประชาชนทราบ
  9. กิจกรรมที่ 9.สรุปรายงาน ประเมินผลโครงการฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 9
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 630
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชน และภาคีเครือข่าย มีความรอบรู้ ในการปฏิบัติตนที่ถูกต้อง สามารถปรับตัวเข้ากับวิถีการดำรงชีวิตแบบใหม่ เพื่อให้ปลอดภัยจากการติดเชื้อ ไวรัสโคโรน่า 2019 2.ภาคประชาชนและภาคีเครือข่ายในชุมชน สามารถดำเนินการเฝ้าระวังการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ COVID 2019ได้อย่างมีประสิทธิภาพและร่วมรับผิดชอบสังคมร่วมกัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 2.สำรวจข้อมูลพื้นฐานพื้นที่เป้าหมายในชุมชน

วันที่ 4 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

lสำรวจประชาชน พื้นที่เป้าหมายเสี่ยง ที่ประชาชนมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อประเมินเฝ้าระวังความเสี่ยงตามแนวทางมาตรการควบคุม ป้องกันโรคติดเชื้อ COVID 19

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทะเบียนพื้นที่เป้าหมายเสี่ยงในเขตพื้นที่ หมู่ 9 บ้านราษฎร์พัฒนา หมู่ 10 ต.มาโมง -ศพด.  1  แห่ง  รร.ตาดีกา  1  แห่ง  มัสยิด  1  แห่ง  กลุ่มออมทรัพย์  2  แห่ง  ร้านชำ  6  ร้าน

ทะเบียนประชาชนกลุ่มเป้าหมายเสี่ยง  จำนวน 50 คน   กลุ่มผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง  จำนวน  41  คน   (หมู่ 9 ราษฎร์พัฒนา 16 คน , หมู่ 10 สามซอย  25  คน)   -กลุ่มหญิงตั้งครรภ์                        จำนวน    9  คน
    (หมู่ 9 ราษฎร์พัฒนา 2 คน , หมู่ 10 สามซอย  7  คน)

 

11 0

2. กิจกรรมที่ 3.พื้นที่เป้าหมายเสี่ยงประเมินตนเองตามมาตรการ การเฝ้าระวังการป้องกันควบคุมโรคไวรัสโคโรน่า (covic 19)

วันที่ 23 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

พื้นที่เป้าหมายเสี่ยงประเมินตนเองตามมาตรการในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการประเมิน สถานที่ผ่านตามเกณฑ์ประเมิน -ศพด.  1  แห่ง
-รร.ตาดีกา  1  แห่ง
- มัสยิด  1  แห่ง
-กลุ่มออมทรัพย์  2  แห่ง
ไม่ผ่านตามเกณฑ์ประเมิน -ร้านชำ  2  ร้าน  ไม่ผ่าน 4  ร้าน

 

11 0

3. กิจกรรมที่ 5สร้างเครื่องมือ เพื่อประเมินความรู้และพฤติกรรมในการ ป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า 2019

วันที่ 6 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อวัสดุสำนักงานเพื่อทำแบบประเมินความรู้และทดสอบสุขภาพจิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้แบบประเมินความรู้และทดสอบสุขภาพจิต สำหรับนำไปใช้ประเมินกลุ่มเป้าหมาย

 

214 0

4. กิจกรรมที่ 4.จัดซื้อ วัสดุ/เครื่องมือ ในการปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรค

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ซื้อ วัสดุ/เครื่องมือ ในการควบคุม ป้องกันโรค สนับสนุนให้พื้นที่และกลุ่มเป้าหมายเสี่ยง (สนับสนุน/หมู่บ้าน/มัสยิด/ศพด/ตาริกา)
ประชากรกลุ่มเป้าหมายเสี่ยง  รวมทั้งสิ้น  จำนวน  50  คน ดังนี้   -กลุ่มผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง  จำนวน  41  คน   -กลุ่มหญิงตั้งครรภ์                        จำนวน    9  คน
  ดังนี้ - หน้ากากอนามัย      จำนวน 50 กล่อง  X 125 บาท  เป็นเงิน      6,250  บาท - เจลแอลกอฮอล์  ขนาด 450 ml จำนวน 20 ขวด  X 250 บาท    เป็นเงิน      5,000  บาท    - โทโมมิเตอร์วัดไข้แบบดิจิทัล      จำนวน  5 เครื่อง  X 3,000 บาท  เป็นเงิน  15,000  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สถานที่ที่เป็นพื้นที่เสี่ยงและกลุ่มประชากรเป้าหมายเสี่ยง มีเครื่องมือใช้ในการดูแลป้องกัน ตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า

 

61 0

5. กิจกรรมที่ 1.ประชุมทีมอสม.และเครือข่าย ในพื้นที่รับผิดชอบ

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำป้ายไวนิลโครงการฯ
2.ประชุมทีมอสม.และเครือข่าย ในพื้นที่รับผิดชอบ
สื่อสารความร่วมมือและสร้างความเข้าใจในการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (covid 19) 1.2) จัดตั้งทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคฯระดับหมู่บ้าน หมู่บ้าน ละ  1  ทีม เพื่อให้หมู่บ้านมีการดำเนินการเฝ้าระวังโรคเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมรับสถานการณ์ตลอดเวลา 1.3) จัดทำมาตรการการเฝ้าระวัง ตามแนวทางการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (covid 19) เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติในการเฝ้าระวังควบคุมโรคที่ถูกต้อง ตามหลักวิชาการการระบาด 1.4) สอบถามปัญหา พร้อมสำรวจจำนวนความต้องการใช้เครื่องมือ/วัสดุ ที่จำเป็นต้องใช้ในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (covic 19) เพื่อเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีป้ายไวนิล ประชาสัมพันธ์โครงการฯ 2.พื้นที่รับผิดชอบ 2 หมู่บ้าน มีทีมเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคฯระดับหมู่บ้านโดยเครือข่ายมีส่วนร่วมและสามารถปฏิบัติตามมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (covic 19) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จำนวน 2 ทีม

 

30 0

6. กิจกรรมที่ 8.ทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคฯระดับหมู่บ้าน ดำเนินการเฝ้าระวังตามมาตรการ

วันที่ 8 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคฯระดับหมู่บ้าน ดำเนินการเฝ้าระวังตามแนวทางมาตรการคสั่ง ศบค.พื้นที่อำเภอ -ผู้เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง กักตัว 14 วัน -ผู้สัมผัสเสี่ยงสูง              กักตัว 14 วัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การดำเนินการเฝ้าระวังตามแนวทางมาตรการควบคุมป้องกันโรค -ผู้เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง กักตัว 14 วัน  จำนวน    9  หลังคาเรือน (22 คน) -ผู้สัมผัสเสี่ยงสูง              กักตัว 14 วัน  จำนวน  11  หลังคาเรือน (41 คน)

 

30 0

7. กิจกรรมที่ 6.ทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคฯระดับหมู่บ้าน ลงสำรวจและประเมินโดยใช้เครื่องมือแบบสอบถาม

วันที่ 8 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคฯระดับหมู่บ้าน ลงสำรวจและประเมินโดยใช้เครื่องมือแบบสอบถาม แบบประเมินความรู้และแบบทดสอบสุขภาพจิต เป้าหมาย 630 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ประชาชนร้อยละ  85.56  มีความรู้สามารถปรับตัวเข้ากับวิถีการดำรงชีวิตแบบใหม่เพื่อให้ปลอดภัยจากการติดเชื้อ ไวรัสโคโรน่า (co-vid 19) -การประเมินแบบทดสอบสุขภาพจิตประชาชน ร้อยละ 88.73 มีความกังวลเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในช่วงกักตัว ส่งผลต่อภาวะความเครียดของคนในครอบครัว

 

30 0

8. กิจกรรมที่ 7. สรุปผลการประเมิน/คืนข้อมูลให้ประชาชนทราบ

วันที่ 8 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลการประเมินตามแนวทางมาตรการ การเฝ้าระวังควบคุม ป้องกันโรคในสถานที่/พื้นที่เสี่ยง ให้เครือข่าย/ประชาชนทราบ โดยสื่อสารผ่านผู้ใหญ่บ้าน อสม.ในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เครือข่าย/ประชาชนรับทราบข้อมูลและดำเนินการปรับปรุงสถานที่ที่มีการปฏิบัติไม่ถูกหลัก ตามแนวทางมาตรการที่กำหนด

 

0 0

9. กิจกรรมที่ 9.สรุปรายงาน ประเมินผลโครงการฯ

วันที่ 8 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

สรุปรายงานผลตามกิจกรรมและรายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณตามแนวทางที่กองทุนฯกำหนด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานฉบับสมบูรณ์  จำนวน 1 เล่ม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรอบรู้ในการปฏิบัติตนที่ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ COVID-19 (คน)
ตัวชี้วัด : ประชาชน มีความรอบรู้ในการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจาก การติดเชื้อ COVID-19 ร้อยละ 80
788.00 630.00 539.00

 

2 2. เพื่อให้พื้นที่เป้าหมายเสี่ยง ที่ประชาชนมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน/สถานบริการและสถานประกอบการ /ประชากรกลุ่มเสี่ยง มีการปฏิบัติตามแนวทาง/มาตรการ/มาตรฐานที่กำหนดตามเกณฑ์ความปลอดภัยจากการติดเชื้อ COVID 19 (แห่ง)
ตัวชี้วัด : 2. พื้นที่เป้าหมายเสี่ยง ที่ประชาชนมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน/กลุ่มประชากรกลุ่มเสี่ยง/สถานบริการและสถานประกอบการ มีการปฏิบัติตามแนวทาง/มาตรการ/มาตรฐานที่ กำหนดตามเกณฑ์ความปลอดภัยจากการติดเชื้อ COVID 19 ร้อยละ 100
11.00 11.00 11.00

 

3 3 เพื่อสร้างความเข็มแข็ง ส่งเสริมสนับสนุน บทบาทของภาคประชาชนและภาคีเครือข่ายในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ COVID 19 (หมู่)
ตัวชี้วัด : 3. ภาคประชาชนและภาคีเครือข่ายในชุมชนร่วมรับผิดชอบกิจกรรมการเฝ้าระวังการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ COVID ของหมู่บ้านร้อยละ 90
2.00 2.00 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 689 689
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 9 9
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 630 630
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรอบรู้ในการปฏิบัติตนที่ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ COVID-19 (คน) (2) 2. เพื่อให้พื้นที่เป้าหมายเสี่ยง ที่ประชาชนมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน/สถานบริการและสถานประกอบการ /ประชากรกลุ่มเสี่ยง มีการปฏิบัติตามแนวทาง/มาตรการ/มาตรฐานที่กำหนดตามเกณฑ์ความปลอดภัยจากการติดเชื้อ COVID 19 (แห่ง) (3) 3 เพื่อสร้างความเข็มแข็ง ส่งเสริมสนับสนุน บทบาทของภาคประชาชนและภาคีเครือข่ายในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ COVID 19 (หมู่)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1.ประชุมทีมอสม.และเครือข่าย ในพื้นที่รับผิดชอบ (2) กิจกรรมที่ 2.สำรวจข้อมูลพื้นฐานพื้นที่เป้าหมายในชุมชน (3) กิจกรรมที่ 3.พื้นที่เป้าหมายเสี่ยงประเมินตนเองตามมาตรการ การเฝ้าระวังการป้องกันควบคุมโรคไวรัสโคโรน่า (covic 19) (4) กิจกรรมที่ 4.จัดซื้อ วัสดุ/เครื่องมือ ในการปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรค (5) กิจกรรมที่ 5สร้างเครื่องมือ เพื่อประเมินความรู้และพฤติกรรมในการ ป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า 2019 (6) กิจกรรมที่ 8.ทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคฯระดับหมู่บ้าน ดำเนินการเฝ้าระวังตามมาตรการ (7) กิจกรรมที่ 6.ทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคฯระดับหมู่บ้าน ลงสำรวจและประเมินโดยใช้เครื่องมือแบบสอบถาม (8) กิจกรรมที่ 7. สรุปผลการประเมิน/คืนข้อมูลให้ประชาชนทราบ (9) กิจกรรมที่ 9.สรุปรายงาน ประเมินผลโครงการฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรน่า (covic 19) ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส ปี 2564

รหัสโครงการ 64-L2532-1-05 รหัสสัญญา 03/2564 ระยะเวลาโครงการ 23 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 ธันวาคม 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรน่า (covic 19) ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส ปี 2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2532-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สว.นอก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด