กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการห่วงใยใส่ใจต่อสุขภาพของเกษตรกรและผู้บริโภคในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
รหัสโครงการ 64-L3318-02-2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ประธานศูนย์บริการและเทคโนโลยีการเกษตรประจำเทศบาลตำบลโตนดด้วน
วันที่อนุมัติ 25 กุมภาพันธ์ 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 มีนาคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 30,650.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายประสิทธิ์ รักรอด
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 มี.ค. 2564 31 ส.ค. 2564 30,650.00
รวมงบประมาณ 30,650.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่า เราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด
85.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้เกษตรกรรู้เกี่ยวกับโทษของสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ส่งเสริมการทำเกษตรอินทรีย์ เน้นการส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค 2. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการทำสารชีวินทรีย์ เพื่อลดการใช้สารเคมี เพื่อส่งเสริมเกษตรปลอดสารพิษ 3. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเจาะหาสารเคมีในเลือดเพื่อลดภาวะเสี่ยงในการเกิดโรคต่าง ๆ

1.เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับโทษของสารเคมีและการทำเกษตรปลอดสารพิษ จำนวน 50 คน 2.เกษตรกรในพื้นที่มีความรู้เกี่ยวกับการทำสารชีวินทรีย์ชนิดต่าง ๆ เพื่อลดการใช้สารเคมี ทำให้สุขภาพแข็งแรงขึ้น 3.เกษตรกรมีความรู้ในการปรับพฤติกรรมในการปลูกผักปลอดสารพิษไว้กินเองในครัวเรือน

0.00 50.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 30,650.00 1 30,650.00
27 เม.ย. 64 - 25 ส.ค. 64 กิจกรรมตรวจหาสารเคมีในเลือด ครั้งที่ 1 ก่อนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ครั้งที่ 2 หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 0 30,650.00 30,650.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เกษตรกรเห็นคุณค่าและประโยชน์ของการทำเกษตรปลอดสารพิษ ทำให้มีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงมากยิ่งขึ้น
  2. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และลดการใช้สารเคมีในผลผลิตทางการเกษตร ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและทำให้เกิดโรคมะเร็ง โรคฉี่หนู และโรคปอดได้
  3. เกษตรกรให้ความสำคัญถึงภาวะสุขภาพของตนเองและจำเป็นในการดำเนินชีวิตเกี่ยวกับการบริโภคผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษ เพื่อลดภาวะเสี่ยงจากโรคมะเร็ง โรคปอด โรคฉี่หนู และลดสารพิษในเลือดลงได้
  4. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การบริโภคอาหารปลอดภัย การทำเกษตรปลอดสารพิษเพื่อลดภาวะเสี่ยงการเกิดโรคมะเร็ง โรคฉี่หนู และโรคปอด
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 มี.ค. 2564 15:22 น.