กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ เพื่อชีวีมีสุขปี 2564
รหัสโครงการ 2014/64
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ม.3 บ้านลำพด
วันที่อนุมัติ 1 กุมภาพันธ์ 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 31 ธันวาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ธันวาคม 2564
งบประมาณ 14,590.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวเรวดี ศรีผล
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานยาสูบ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มี.ค. 2564 30 ธ.ค. 2564 14,590.00
รวมงบประมาณ 14,590.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 58 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาการสูบบุหรี่ในประเทศไทยทวีความรุนแรง โดยเฉพาะอายุของนักสูบหน้าใหม่ที่ลดน้อยลงและมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นซึ่งการสูบบุหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ส่งผลกระทบทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมอย่างกว้างขวางและเป็นสาเหตุสำคัญของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนวันอันควรทำให้รัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายในกาดูแลรักษาเป็นจำนวนมากจากข้อมูลการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากร พ.ศ. 2557 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่า ประเทศไทยมีผู้สูบบุหรี่จำนวน11.4ล้านคนอัตราการสูบบุหรี่ในประชากรอายุ 35ปีขึ้นไปร้อยละ 20.7 ต่อประชากร พันคนอยู่ในกลุ่มอายุ 25-59 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มวัยทำงานมากที่สุดร้อยละ 23.5 รองลงมาคือกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไปร้อยละ 16.6และกลุ่มอายุ 15-24 ปีร้อยละ 14.7ตามลำดับเป็นผู้ชายร้อยละ 40.5 และ ผู้หญิงร้อยละ 2.2โดยสูบบุหรี่จากโรงงานอย่างเดียวมากที่สุด 5.3ล้านคน รองลงมาคือบุหรี่มวนเอง 4.2 ล้านคนและทั้งบุหรี่ม้วนเอง 1.9 ล้านคนและมีคนไทยได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้านร้อยละ 28.1มีนักสูบหน้าใหม่เกิดขึ้นราว 2-3 แสนคนต่อปีคนไทยเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ปีละประมาณ 52,000 คน เฉลี่ยวันละ 142คนชั่วโมงละ 6 คนและเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากบุหรี่ร้อยละ 12 ของการตายทั้งหมดผู้ที่สูบบุหรี่มีโอกาสตายด้วยโรคมะเร็งมากกว่าผู้ไม่สูบบุหรี่ 20 เท่า ที่สำคัญ 1 ใน 4 เป็นเด็กเล็กที่ตายเพราะได้รับควันบุหรี่มือสองหากการควบคุมการบริโภคยาสูบไม่เข้มแข็งจะมีการตายด้วยโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ถึง 8ล้านคนใน 20 ปีข้างหน้า ซึ่งทางกระทรวงสาธารณสุขได้ตั้งเป้าหมายไว้ว่าภายระยะเวลา 3 ปี (ปี 2560-2562)จะดำเนินการเพื่อลดอัตราจำนวนประชากรผู้สูบบุหรี่ที่มีอายุ 15ปีขึ้นไป จากปัจจุบันร้อยละ 19.9 ให้เหลือร้อยละ 16.7และลดอัตราการรับควันบุหรี่มือสองให้เหลือร้อยละ 25 ซึ่งปัญหาเหล่านี้ นี้เราจะใช้เจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถกระทำได้จึงต้องสร้างความตระหนักให้ชุมชน โรงเรียน ได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ รวมถึงป้องกันช่วยลดจำนวนนักสูบหน้าใหม่ให้ห่างไกลจากการสูบบุหรี่

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจจะได้เกิดความตระหนักถึงโทษของภัยบุหรี่

กลุ่มเป้าหมายอายุ 15 ปีขึ้นไปมีความรู้ ความเข้าใจ โทษพิษภัยของบุหรี่ และสารเสพติดเพิ่มขึ้นร้อยละ 100

158.00 50.00
2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมที่เป็นกลุ่มเสี่ยงไม่เป็นผู้สูบบุหรี่หน้าใหม่

กลุ่มเสี่ยงที่เป็นนักสูบรายใหม่ มีจำนวนลดลงร้อยละ 10 ต่อปี

158.00 30.00
3 เพื่อสร้างแรงจูงใจ ส่งเสริมให้เกิดการละ ละ เลิก การสูบบุหรี่เพื่อสุขภาพที่ดีของตนเองและผู้ที่ อยู่ใกล้เคียง

ผู้เสพที่เข้าสู่ระบบบำบัดเลิกเสพได้สำเร็จอย่างต่อเนื่องในช่วง 6 เดือนร้อยละ 10 ต่อปี สามารถเป็นบุคคลต้นแบบในชุมชนได้

158.00 40.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 14,590.00 0 0.00
1 ก.พ. 64 - 31 ธ.ค. 64 จัดอบรม พัฒนาศักยภาพเกี่ยวกับโทษพิษภัยของบุหรี่/โรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่/กลยุทธ์ในการเลิกบุหรี่/การเข้าระบบบำบัดเพื่อเลิกบุหรี่ให้แก่ 0 14,590.00 -

อบรมพัฒนาศักยภาพเกี่ยวกับโทษพิษภัยของบุหรี่/โรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่/กลยุทธ์ในการเลิกบุหรี่/การเข้าระบบบำบัดเพื่อเลิกบุหรี่ให้ได้

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

สูบบุหรี่รายใหม่มีจำนวนลดลงร้อยละ 10ต่อปี 2. ผู้เข้าร่วมการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ โทษพิษของบุหรี่และสารเสพติดเพิ่มขึ้นร้อยละ 100 3. ผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงในการสูบบุหรี่ สามารถเลิกบุหรี่ได้และเป็นบุคคลต้นแบบในชุมชน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 มี.ค. 2564 00:00 น.