กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2564
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปานเจริญ
วันที่อนุมัติ 1 เมษายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 21,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสุรพันธ์ หอมแพน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเดื่อศรีคันไชย อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มี.ค. 2564 30 ก.ย. 2564 21,000.00
รวมงบประมาณ 21,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6512 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ื้ พื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปานเจริญ ตำบลเดื่อศรีคันไชย จากสถิติห้าปีย้อนหลัง ในปี 2559 กลับพบผู้ป่วย 6 คน คิดเป็นอัตราการป่วย 91 ต่อประชากรแสนคน ในปี 2560 กลับพบผู้ป่วย 7 คน คิดเป็นอัตราการป่วย 108 ต่อประชากรแสนคน ในปี 2561 กลับพบผู้ป่วย 5
5.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที
  1. ลดอัตราการป่วยไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
  2. ลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
3.00 20.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 21,000.00 0 0.00
1 มี.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 ควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2564 0 21,000.00 -
  1. การเตรียมการ   - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ   - ให้ความรู้ แผนงานโครงการการดำเนินงานแก่ ทีมควบคุมโรคระดับหมู่บ้าน อสม. ผู้นำชุมชน
  2. การจัดกิจกรรมควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนเครือข่ายโดย อสม. และผู้นำชุมชนเวลาเกิดโรค         ทางกายภาพ  แนะนำ       - ปิดปากภาชนะเก็บน้ำด้วยผ้า ตาข่ายไนล่อน อะลูมิเนียม หรือวัสดุอื่นที่สามารถปิดปากภาชนะเก็บน้ำนั้นได้อย่างมิดชิด จนยุงไม่สามารถเล็ดลอดเข้าไปวางไข่ได้       - คลุมด้วยมุ้งเขียวหรือผ้าบาง 2 ชั้น       - ขัดล้างตุ่มน้ำและภาชนะเก็บน้ำทุกวันศุกร์       - ใส่เกลือแกงหรือน้ำส้มสายชูในจานรองขาตู้กับข้าว
          - บริเวณที่ปลูกต้นไม้ หากมีต้นไม้เยอะๆ ก็ทำให้มียุงเยอะ เพราะยุงจะชอบเกาะพักอยู่ในที่มืดๆ อับๆ ควรแก้ไขให้ดูโปร่งตาขึ้น ถ้าเป็นต้นไม้ประดับในบริเวณบ้าน ก็ต้องคอยสังเกตุว่ารดน้ำมากไปจนมีน้ำขังอยู่ในจานรองกระถางหรือเปล่า พยายามเทน้ำทิ้งบ่อยๆ
          - สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงทุกเดือนโดย อสม.

        ทางชีวภาพ   - แนะนำปล่อยปลากินลูกน้ำในภาชนะเก็บน้ำที่ไม่มีฝาปิด ตามความเหมาะสม

        ทางเคมี   - ใส่ทรายกำจัดลูกน้ำยุงลายในภาชนะน้ำใช้ไม่มีฝาปิดทุกภาชนะทุก ๓ เดือน โดย อสม.และกรรมการหมู่บ้าน     - พ่นหมอกควันเวลาเกิดโรค รัสมี 100 เมตร พ่น 2 ครั้ง
          ครั้งที่ 1 พ่นหลังเกิดโรคภายใน 24 ชั่วโมง
          ครั้งที่ 2 พ่นหลังจากเกิดโรค 7 วัน 3. รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและสุ่มลูกน้ำไขว้หมู่บ้านในเดือน พ.ค. - ก.ย. เดือนละ 1  ครั้ง     - สุ่มไขว้ ระหว่างหมู่บ้าน  ตามโซน ตะวันออก กลาง ตะวันตก

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ลดอัตราการป่วยไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
  2. ลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 พ.ค. 2564 13:25 น.