กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายด้านการเฝ้าระวังและคัดกรองวัณโรคในชุมชนปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางธิดา สองเมือง

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายด้านการเฝ้าระวังและคัดกรองวัณโรคในชุมชนปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L533-01-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายด้านการเฝ้าระวังและคัดกรองวัณโรคในชุมชนปีงบประมาณ 2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายด้านการเฝ้าระวังและคัดกรองวัณโรคในชุมชนปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายด้านการเฝ้าระวังและคัดกรองวัณโรคในชุมชนปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L533-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัณโรคเป็นโรคติดต่อสำคัญที่กำลังเป็นปัญหาสาธารณสุขเป็นสาเหตุของการป่วยและการตายในหลายๆ ประเทศทั่วโลก สาเหตุที่ทำให้วัณโรคกลับมามีปัญหาใหม่ทั่วโลกเนื่องจากการแพร่ระบาดของเอดส์ ความยากจน และการอพยพย้ายถิ่น และแรงงานเคลื่อนย้าย ส่งผลให้การแพร่ระบาดของวัณโรคมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น และตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ.๒๕๓๖ องค์การอนามัยโลกก็ได้ประกาศให้วัณโรคอยู่ในภาวะฉุกเฉินสากล และต้องการการแก้ไขอย่างเร่งด่วน สถานการณ์วัณโรคของโลกในปัจจุบัน องค์การอนามัยโลกรายงานว่า ๑ ใน ๓ ของ ประชากรทั่วโลกติดเชื้อวัณโรคแล้ว ความชุก(prevalence) ของผู้ป่วยวัณโรคมีประมาณ ๑๔.๔ ล้านคน (๒๑๙ ต่อแสนประชากร) ประมาณครึ่งหนึ่งเป็นกลุ่มที่กำ ลังแพร่เชื้อ (highly infectious) และแต่ละปีมีผู้ป่วยรายใหม่ (incidence) ประมาณ ๙.๑๕ ล้านคน (๑๓๙ ต่อแสนประชากร) โดยร้อยละ ๙๕ อยู่ในประเทศที่กำลังพัฒนา ผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิตปีละประมาณ ๑.๖๕ ล้านคน (๒๕ ต่อแสนประชากร) (ร้อยละ ๙๘ อยู่ในประเทศที่ยากจน) จากรายงานขององค์การอนามัยโลกเมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๑ ในกลุ่ม ๒๒ ประเทศที่มีปัญหาวัณโรค มีจำนวนผู้ป่วยรวมกันประมาณ ร้อยละ ๘๐ ของผู้ป่วยทั่วโลก และได้มีการจัดอันดับประเทศที่มีจำนวนผู้ป่วยมากตามลำดับ พบว่า ๓ ประเทศแรกที่มีผู้ป่วยวัณโรคมากที่สุดในโลกอยู่ในทวีปเอเชีย ซึ่งได้แก่ ประเทศอินเดีย จีน และอินโดนีเซีย สำหรับประเทศไทยนั้นจัดอยู่ในอันดับที่ ๑๘ ซึ่งจากการคำนวณทางระบาดวิทยา ในรายงานขององค์การอนามัยโลก คาดการณ์ว่า ประเทศไทยน่าจะมีความชุก (prevalence) ของวัณโรค ซึ่งหมายถึง มีผู้ป่วยวัณโรคทั้งสิ้น ประมาณ ๑๒๕,๐๐๐ ราย (๑๙๗ ต่อแสนประชากร) โดยเป็นผู้ป่วยรายใหม่ ทุกประเภท ปีละ ๙๐,๐๐๐ ราย (๑๔๒ ต่อแสนประชากร) และประมาณ ๔๐,๐๐๐ ราย เป็นผู้ป่วยที่เสมหะบวก (๖๒ ต่อแสนประชากร) เสียชีวิตปีละ ๑๓,๐๐๐ ราย (๒๐ ต่อแสนประชากร)

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมือง ตำบลละงู จังหวัดสตูล พบผู้ป่วยที่ได้ขึ้นทะเบียนรักษา
ปี๒๕๖๓ จำนวน ๖ ราย รักษาหาย ๒ รายและพบรายใหม่ ๑ ราย ซึ่งรายใหม่อยู่ในกลุ่มผู้สูงอายุจากสถานการณ์ดังกล่าวสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูลได้ออกมาตรการให้มีการคัดกรองวัณโรค อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง ในประชาชน ๔ ประเภท ได้แก่ ผู้ร่วมสัมผัสผู้ป่วยร่วมบ้าน ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ แรงงานต่างด้าว และผู้ต้องขังในเรือนจำ ตามมาตรฐานการดำเนินงานวัณโรค

จากสถานการณ์และความสำคัญของปัญหาดังกล่าว เพื่อให้เกิดการค้นหาผู้ป่วยในชุมชน และพัฒนาระบบบริการ การดำเนินอย่างมีส่วนร่วมของเครือข่ายให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุตามเป้าหมายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมือง ตำบลละงู จังหวัดสตูล จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายด้านการเฝ้าระวังและคัดกรองวัณโรคในชุมชน ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ขึ้นและมุ่งหวังให้เกิดกลไกในระดับชุมชน ในการเฝ้าระวังโรค สามารถแจ้งเจ้าหน้าที่และส่งต่อเพื่อทำการรักษาอย่างทันท่วงที ลดอัตราอุบัติการณ์ของโรค สู่ชุมชนสุขภาวะต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ ๑ เพื่อให้มีแนวทาง/กิจกรรมในการแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่
  2. ข้อที่ ๒.เพื่อให้เครือข่ายในชุมชนฝึกและคัดกรองค้นหาวัณโรคตามแนวทางการคัดกรอง
  3. ข้อที่ ๓.เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ประชุมชี้แจงแนวทางการแก้ไขปัญหาวัณโรคในระดับพื้นที่แก่คณะกรรมการหมู่บ้านในการป้องกันโรค หมู่บ้านละ ๒๐คนจำนวน ๖หมู่บ้าน (อสม. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา)
  2. ๒.อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกทักษะการคัดกรองวัณโรคในชุมชนแก่(อสม.ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา)
  3. ๓. คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง(กลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ) และให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายจำนวน ๖ หมู่บ้าน
  4. ๔. ส่งต่อ/ติดตามผลการรักษา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 350
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เครือข่ายมีความรู้ความเข้าใจความรู้และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการคัดกรอง การเฝ้าระวัง และมีทักษะการคัดกรองวัณโรค
    1. ประชาชนผู้สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วยวัณโรค ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการคัดกรองและเฝ้าระวังวัณโรค สามารถค้นพบผู้ป่วยสงสัยในชุมชนได้ และสามารถส่งต่อเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านการรักษาได้ทัน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.ประชุมชี้แจงแนวทางการแก้ไขปัญหาวัณโรคในระดับพื้นที่แก่คณะกรรมการหมู่บ้านในการป้องกันโรค หมู่บ้านละ ๒๐คนจำนวน ๖หมู่บ้าน (อสม. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา)

วันที่ 1 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจงแนวทางแก้ไขปัญหาวัณโรค ในระดับพื้นที่แก่คณะกรรมการหมู่บ้านในการป้องกันโรค
หมู่บ้านละ 20 คน จำนวน 6 หมู่บ้าน (อสม. ผู้นำชุมชน  ผู้นำศาสนา) คืนข้อมูลสถานการณ์โรควัณโรค วิเคราะห์ข้อมูล หาแนวทาง/กิจกรรมในการแก้ไขปัญหา -ค่าอาหารกลางวัน 50 บ.x120 คนx1 มื้อ เป็นเงิน 6000 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บ.x2 มื้อx120 คน เป็นเงิน 6000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีแนวทาง/กิจกรรมในการควบคุมป้องกันโรค เครือข่ายทุกภาคส่วนมีความพร้อมในการป้องกันและควบคุมโรค

 

120 0

2. ๒.อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกทักษะการคัดกรองวัณโรคในชุมชนแก่(อสม.ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา)

วันที่ 1 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกทักษะการคัดกรองวัณโรคในชุมชนแก่ (อสม. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา) -ความรู้เรื่องโรควัณโรคและแนวทางการรักษาป้องกัน -แนวทางการดำเนินงานคัดกรองค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในกลุ่มเสี่ยง -แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติคัดกรองจริง -ค่าอาหารกลางวัน 50 บ.x60 คนx1 มื้อ เป็นเงิน 3000 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  25บ.x2มื้อx60 คน เป็นเงิน 3000 บาท -ค่าวิทยากร 400 บ.x6 ชม. เป็นเงิน 2400 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจและแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการคัดกรอง การเฝ้าระวัง และมีทักษะการคัดกรองวัณโรค

 

60 0

3. ๓. คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง(กลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ) และให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายจำนวน ๖ หมู่บ้าน

วันที่ 1 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้/คำแนะนำ/คัดกรองวัณโรค ในกลุ่มเสี่ยง(กลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้าน  ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ) และความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 6 หมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนผู้สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วยวัณโรค ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการคัดกรองและเฝ้าระวังวัณโรคสามารถค้นพบผู้ป่วยสงสัยในชุมชนได้ และสามารถส่งต่อเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านการรักษาได้ทันโดยค้นพบรายใหม่

 

400 0

4. ๔. ส่งต่อ/ติดตามผลการรักษา

วันที่ 1 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ส่งต่อ/ติดตามการรักษา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยได้รับการติดตาม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ ๑ เพื่อให้มีแนวทาง/กิจกรรมในการแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่
ตัวชี้วัด : -มีแนวทาง/กิจกรรมในการควบคุมป้องกันโรค -เครือข่ายทุกภาคส่วนมีความพร้อมในการป้องกันและควบคุมโรค
0.00

 

2 ข้อที่ ๒.เพื่อให้เครือข่ายในชุมชนฝึกและคัดกรองค้นหาวัณโรคตามแนวทางการคัดกรอง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจความรู้และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการคัดกรอง การเฝ้าระวัง และมีทักษะการคัดกรองวัณโรคร้อยละ๘๐ และคัดกรองค้นหาวัณโรคในกลุ่มเป้าหมายร้อยละ ๙๕
0.00

 

3 ข้อที่ ๓.เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่
ตัวชี้วัด : ประชาชนผู้สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วยวัณโรค ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการคัดกรองและเฝ้าระวังวัณโรค สามารถค้นพบผู้ป่วยสงสัยในชุมชนได้ และสามารถส่งต่อเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านการรักษาได้ทันโดยค้นพบผู้ป่วยรายใหม่มากกว่าร้อยละ ๑ ของกลุ่มเป้าหมายที่คัดกรอง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 350
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑ เพื่อให้มีแนวทาง/กิจกรรมในการแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่ (2) ข้อที่ ๒.เพื่อให้เครือข่ายในชุมชนฝึกและคัดกรองค้นหาวัณโรคตามแนวทางการคัดกรอง (3) ข้อที่ ๓.เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ประชุมชี้แจงแนวทางการแก้ไขปัญหาวัณโรคในระดับพื้นที่แก่คณะกรรมการหมู่บ้านในการป้องกันโรค หมู่บ้านละ ๒๐คนจำนวน ๖หมู่บ้าน (อสม. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา) (2) ๒.อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกทักษะการคัดกรองวัณโรคในชุมชนแก่(อสม.ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา) (3) ๓. คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง(กลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ) และให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายจำนวน ๖ หมู่บ้าน (4) ๔. ส่งต่อ/ติดตามผลการรักษา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายด้านการเฝ้าระวังและคัดกรองวัณโรคในชุมชนปีงบประมาณ 2564 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L533-01-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางธิดา สองเมือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด