กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี


“ โครงการบริหารจัดการและพัฒนาศักยภาพกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยาบี ประจำปี พ.ศ.2565 ”

ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายรุสลาม มะแซ

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการและพัฒนาศักยภาพกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยาบี ประจำปี พ.ศ.2565

ที่อยู่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3070-4-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการและพัฒนาศักยภาพกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยาบี ประจำปี พ.ศ.2565 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการและพัฒนาศักยภาพกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยาบี ประจำปี พ.ศ.2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการและพัฒนาศักยภาพกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยาบี ประจำปี พ.ศ.2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3070-4-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระบบท้องถิ่นหรือพื้นที่หรือกองทุน อปท. เป็นนวัตกรรมที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและภาคีภาคส่วนต่างๆ โดยมุ่งเน้นให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและฟื้นฟูสมรรถภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้ทั่วถึงมากขึ้น รวมถึงสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ ส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคม ที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วงผ่านไปได้ด้วยดี จากการดำเนินงานของกองทุนที่ผ่านมา พบว่ายังมีความจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาศักยภาพกองทุนและคณะกรรมการกองทุน โดยเฉพาะในเรื่องการบริหารจัดการกองทุนฯ ให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลยาบี จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลยาบี เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุน
ให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตามกิจกรรมที่ สปสช.กำหนดในข้อ 10 (4)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
  2. 2.เพื่อพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน
  3. 3. เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
  4. 4. เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่ม หรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
  5. 5.เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 10. ค่าวัสดุสำนักงาน
  2. 1. กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1
  3. 2.กิจกรรมประชุมคณะกรรมการคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1
  4. 3. กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2565
  5. 4.กิจกรรมประชุมคณะกรรมการคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2565
  6. 5. กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3
  7. 6.กิจกรรมประชุมคณะกรรมการคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3
  8. 7. กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 4
  9. 8.กิจกรรมประชุมคณะกรรมการคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 4
  10. 9. กิจกรรมประชาคมจัดทำแผนสุขภาพตำบลยาบี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 40

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
  2. การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินเเละการจัดทำบัญชีการเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพเเห่งชาติกำหนด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 10. ค่าวัสดุสำนักงาน

วันที่ 1 ธันวาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อวัสดุสำนักงานของกองทุนฯ ประกอบด้วย - แฟ้มสันกว้างสำหรับใส่เอกสาร - แฟ้มเสนอเซ็น - ที่เย็บกระดาษ - เครื่องเจาะกระดาษ - แท่นประทับตรา - คลิบหนีบกระดาษ - ปากกาเคมี 2หัว -กระดาษบรูฟ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้จัดซื้อวัสดุสำนักงานตามที่ระบุไว้ในรายการข้างต้น ครบถ้วน จริง

 

0 0

2. 1. กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1

วันที่ 23 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.1 ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดร่างวาระในการประชุม  คณะอนุกรรมการ
1.2 กำหนดวันประชุมตลอดปีงบประมาณ 2. ขั้นตอนการดำเนินงาน 2.1ติดต่อประสานงานกับคณะอนุกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมาย 2.2จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน 2.3จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนอนุกรรมการ  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน 2.4จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม 3. ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
  2. การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินเเละการจัดทำบัญชีการเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพเเห่งชาติกำหนด

 

6 0

3. 2.กิจกรรมประชุมคณะกรรมการคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1

วันที่ 24 ธันวาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.1 ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดร่างวาระในการประชุม จำนวนคณะกรรมการ
1.2 กำหนดวันประชุมตลอดปีงบประมาณ 2. ขั้นตอนการดำเนินงาน 2.1ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมาย 2.2จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน 2.3จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน 2.4จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม 3. ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
  2. การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินเเละการจัดทำบัญชีการเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพเเห่งชาติกำหนด

 

13 0

4. 3. กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2565

วันที่ 29 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่อง ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ -แนะนำปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลยาบีท่านใหม่ที่มาดำรงตำแหน่งกรรมการกองทุนฯ -รายงานงบประมาณ (รายรับ-รายจ่าย)ประจำปี 2565 ของกองทุนฯ ระเบียบวาระที่ 2 เรื่อง รับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว -รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 1/2565 เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2564 ระเบียบวาระที่ 3 เรื่อ เพื่อทราบและพิจารณา -รายงานผลการดำเนินโครงการต่างๆที่ได้รับอนุมัติจากการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยาบี ครั้งที่ 1/2565 -ติดตามการดำเนินงานโครงการที่ยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ 2.การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีการเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

 

6 0

5. 4.กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2565

วันที่ 30 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งที่ประชุมทราบ -แนะนำปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลยาบีท่านใหม่ที่มาดำรงตำแหน่งกรรมการกองทุนฯ -รายงานงบประมาณ(รายรับ-รายจ่าย)ประจำปี 2565 ของกองทุนฯ ระเบียบวาระที่ 2 เรื่อง รับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว -รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 1/2565 เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2565 ระเบียบวาระที่ 3 เรียน เพื่อทราบและพิจารณา -รายงานผลการดำเนินโครงการต่างๆที่ได้รับการอนุมัติจากการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยาบี ครั้งที่ 1/2565 -ติดตามการดำเนินงานโครงการที่ยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องอื่นๆถ้ามี -ไม่มี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ 2.การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีการเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

 

17 0

6. 5. กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3

วันที่ 30 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่อง ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ -แนะนำเจ้าพนักงานการเงินและบัญชีคนใหม่ที่มาดำรงตำแหน่งอนุกรรมการกองทุนฯ -รายงานงบประมาณ (รายรับ-รายจ่าย) ประจำปี 2565 ของกองทุนฯ ระเบียบวาระที่ 2 เรื่อง รับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2565 เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2565 ระเบียบวาระที่ 3 เรื่อง เพื่อทราบและพิจารณา -รายงานผลการดำเนินการโครงการต่างๆที่ได้รับการอนุมัติจากการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยาบี ครั้งที่1/2565 -ติดตามการดำเนินงานโครงการที่ยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น -การดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(Long term care : LTC)ของกองทุนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ 2.การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีการเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

 

6 0

7. 6.กิจกรรมประชุมคณะกรรมการคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3

วันที่ 31 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่อง ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ -รายงานงบประมาณ(รายรับ-รายจ่าย)ประจำปี 2565 ของกองทุนฯ -ระเบียบวาระที่2 เรื่อง รับรองรายงานการประชุมครั้งที่2/2565 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2565 ระเบียบวาระที่ 3 เรื่อง เพื่อทราบและพิจารณา -รายงานผลการดำเนินการโครงการต่างๆ ที่ได้รับอนุมัติจากการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยาบี ครั้งที่1/2565 -ติดตามการดำเนินงานโครงการที่ยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น -การดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(Long term care : LTC)ของกองทุนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ 2.การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีการเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

 

17 0

8. 7. กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 4

วันที่ 26 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งที่ประชุม -รายงานงบประมาณ (รายรับ-รายจ่าย)ประจำปี 2565 ของกองทุนฯ ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว -รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 3/2565 เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2565 ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบและพิจารณา -รายงานผลการดำเนินการโครงการต่างๆที่ได้รับอนุมัติจากการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยาบี ครั้งที่ 1/2565 ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องอื่นๆ(ถ้ามี)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
  2. การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินเเละการจัดทำบัญชีการเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพเเห่งชาติกำหนด

 

6 0

9. 8.กิจกรรมประชุมคณะกรรมการคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 4

วันที่ 27 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งที่ประชุมทราบ -รายงานงบประมาณ(รายรับ-รายจ่าย)ประจำปี 2565 ของกองทุนฯ ระเบียบวาระที่ 2 เรื่อง รับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว -รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 3/2565 เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2565 ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบและพิจารณา -รายงานผลการดำเนินโครงการต่างๆที่ได้รับการอนุมัติจากการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยาบี ครั้งที่1/2565 ระเบียบวาระที่4 เรื่องอื่นๆถ้ามี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
  2. การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินเเละการจัดทำบัญชีการเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพเเห่งชาติกำหนด

 

17 0

10. 9. กิจกรรมประชาคมจัดทำแผนสุขภาพตำบลยาบี

วันที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-เสนอโครงการเพื่อพิจารณาอนุมัติ -ประสานกลุ่มเป้าหมาย และสถานที่ -กิจกรรมประชาคมเพื่อจัดทำแผนสุขภาพ -จัดซื้อวัสดุสำนักงาน -สรุป ประเมินผล และรายงานผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดแผนสุขภาพตำบลยาบีที่สอดคล้องกับปัญหาสาธารณสุขของชุมชน และสามารถวางแผนงานและโครงการด้านสาธารณสุขตามบริบทของชุมชนได้อย่างเหมาะสม 2.มีวัสดุสำนักงานเพียงพอต่อการปฏิบัติงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลยาบี 3.เกิดภาคีเครือข่ายสุขภาพตำบลยาบีที่มีคุณภาพ

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยาบี ได้จัดประชุมเพื่อหารือเเผนงาน/โครงการ และอนุมัติเเก่หน่วยงาน ที่มาขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ซึ่งจัดการประชุมทั้งหมด 8 วาระ ได้เเก่ การประชุมฝ่ายคณะอนุกรรมการกองทุน จำนวน 4 วาระ เเละการประชุมฝ่ายกรรมการกองทุนจำนวน 4 วาระ ดังเอกสารที่เเนบไว้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
ตัวชี้วัด : 1.เเผนงาน หรือโครงการหรือกิจกรรม ที่ได้รับการพิจารณาอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน ร้อยละ 90
90.00 100.00

 

2 2.เพื่อพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน
ตัวชี้วัด : 2.ออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน ร้อยละ 70
70.00 100.00

 

3 3. เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 80 มีการควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือสินทรัพย์ในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์
80.00 100.00

 

4 4. เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่ม หรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
ตัวชี้วัด : 4.ร้อยละ 70 มีการกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่ม หรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณให้เป็นไปตามแผนงาน/โครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติและตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
70.00 100.00

 

5 5.เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 5.ร้อยละ 100 มีการพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 40 40

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ (2) 2.เพื่อพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน (3) 3. เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด (4) 4. เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่ม หรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด (5) 5.เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 10. ค่าวัสดุสำนักงาน (2) 1. กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ  ครั้งที่ 1 (3) 2.กิจกรรมประชุมคณะกรรมการคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1 (4) 3. กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ  ครั้งที่ 2/2565 (5) 4.กิจกรรมประชุมคณะกรรมการคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2565 (6) 5. กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ  ครั้งที่ 3 (7) 6.กิจกรรมประชุมคณะกรรมการคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3 (8) 7. กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ  ครั้งที่ 4 (9) 8.กิจกรรมประชุมคณะกรรมการคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 4 (10) 9. กิจกรรมประชาคมจัดทำแผนสุขภาพตำบลยาบี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการและพัฒนาศักยภาพกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยาบี ประจำปี พ.ศ.2565

รหัสโครงการ 65-L3070-4-1 ระยะเวลาโครงการ 1 ธันวาคม 2564 - 30 กันยายน 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระบบท้องถิ่นหรือพื้นที่หรือกองทุน อปท. เป็นนวัตกรรมที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและภาคีภาคส่วนต่างๆโดยมุ่งเน้นให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและฟื้นฟูสมรรถภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้ทั่วถึงมากขึ้น รวมถึงสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ ส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคม ที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพลุล่วง จากการดำเนินงานของกองทุนที่ผ่านมา พบว่ายังมีความจำเป็นที่่จะต้องมีการพัฒนาศักยภาพกองทุนและคณะกรรมการกองทุน โดยเฉพาะในเรื่องการบริหารจัดการกองทุนฯให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลยาบี จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วรตำบลยาบี เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุน ให้สามารถดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ ตามกิจกรรมที่ สปสช.กำหนดในข้อ 10 (4)

1.แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ

2.การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทำบัญชีการเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

1.ขั้นตอนวางแผน

-ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดร่างวาระในการประชุม จำนวนคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน

-กำหนดวันประชุมตลอดปีงบประมาณ

2.ขั้นตอนการดำเนินงาน

-ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมาย

-จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน

-จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน

-จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม

3.ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด

-จัดประชุมคณะกรรมการ และที่ปรึกษา อย่างน้อย
4 ครั้ง/ปี

-จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน/คณะทำงาน อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี

-สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน

4.ดำเนินการจัดทำแผนสุขภาพประจำปี

1.แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ

2.การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทำบัญชีการเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

1.กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯครั้งที่ 1

2.กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุนฯครั้งที่ 1

3.กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯครั้งที่ 2

4.กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2

5.กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3

6.กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3

7.กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 4

8.กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 4

1.แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ

2.การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทำบัญชีการเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

-

-

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

พักผ่อนให้เพียงพอ ทานอาหารให้เพียงพอและถูกสุขอนามัย ออกกำลังกายสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ติดต่อกับครอบครัวและเพื่อนฝูงอย่างต่อเนื่องอาจลองทำงานอดิเรกใหม่ ๆ ที่ไม่เคยทำมาก่อน

1.แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ

2.การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทำบัญชีการเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ทานอาหารให้เพียงพอและถูกสุขลักษณะอนามัย

1.แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ

2.การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทำบัญชีการเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

1.แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ

2.การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทำบัญชีการเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

1.แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ

2.การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทำบัญชีการเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

ติดต่อกับครอบครัวและเพื่อนฝูงอย่างต่อเนื่องอาจลองทำงานอดิเรกใหม่ ๆ ที่ไม่เคย

1.แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ

2.การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทำบัญชีการเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

-

-

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

-

-

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

-

-

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่มกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยาบีกับหน่วยงานต่างๆ

1.แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ

2.การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทำบัญชีการเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

-

-

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

เป็นโครงการที่จำเป็นสำหรับการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อที่สามารถพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการ และอนุกรรมการ ของกองทุน เป็นการสนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุน ข้อ 10 (4) ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น หรือพื้นที่ พ.ศ.2557

1.แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ

2.การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทำบัญชีการเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

-

-

 

โครงการบริหารจัดการและพัฒนาศักยภาพกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยาบี ประจำปี พ.ศ.2565 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3070-4-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายรุสลาม มะแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด