กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง


“ โครงการลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ปี 2565 ”

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายไกรสร โตทับเที่ยง

ชื่อโครงการ โครงการลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2565-L6896-01-04 เลขที่ข้อตกลง 7/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ปี 2565 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2565-L6896-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,130.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กลุ่มบุคคลที่ควรได้รับการดูแลเอาใจใส่ อีกกลุ่มหนึ่งที่สำคัญ คือ “หญิงตั้งครรภ์” เพราะหญิงตั้งครรภ์นั้นยังมีอีกหนึ่งชีวิตที่อยู่ร่วมด้วยนั้นก็คือ ทารกในครรภ์ ถ้าหญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลถูกต้อง มีคุณภาพตามเกณฑ์ ก็จะส่งผลให้ทารกในครรภ์คลอดมีคุณภาพ เขตเทศบาลนครตรัง 11 ชุมชน ปี 2564 มี หญิงตั้งครรภ์ทั้งสิ้น 97 คน และเมื่อ อสม.ในพื้นที่ 11ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ได้ลงสำรวจพบหญิงตั้งครรภ์อยู่จริงในพื้นที่ 60 คน (ร้อยละ 61.86 )อยู่นอกพื้นที่ 11 ชุมชน 37 คน (ร้อยละ 38.14)มีแต่ชื่อในเขตเทศบาลนครตรัง หญิงหลังคลอดทั้งสิ้น 81 คน ได้รับการลงเยี่ยมมารดาหลังคลอดจากพยาบาลประจำชุมชน ในพื้นที่พบหญิงหลังคลอดอยู่จริงในพื้นที่ 52 คน (ร้อยละ 64.20) หญิงหลังคลอดอยู่นอกพื้นที่ 11 ชุมชน 29 คน (ร้อยละ 35.80) รอคลอด 8 คน หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ 5 ครั้ง 39 คน(ร้อยละ 75.00) มาฝากครรภ์ไม่ครบตามเกณฑ์ 5 ครั้ง 13 คน (ร้อยละ25.00) มารดาคลอดปกติ 30 คน(ร้อยละ 57.69) คลอดผิดปกติ(ผ่าตัดคลอด) 22 คน(ร้อยละ 42.31) เด็กแรกคลอดปกติ 53 คน(เป็นทารกแฝด 1 คู่)  ทารกมีน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม 5 คน (ร้อยละ 9.43) มีน้ำหนักมากกว่า2,500กรัม 48 คน (ร้อยละ 90.57)มารดาคลอด 52 คน พบมีความเข้มข้นของเลือด (HCT) มากกว่า 33 เปอร์เซ็นต์ จำนวน 44 คน(ร้อยละ 84.62) น้อยกว่า 33 เปอร์เซ็นต์ 8 คน (ร้อยละ 15.38)
    กลุ่มงานการพยาบาลชุมชน  โรงพยาบาลตรัง ได้เล็งเห็นประโยชน์ของการดูแลส่งเสริมสุขภาพ หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิด ได้รับการดูแลตามเกณฑ์และมีคุณภาพชีวิตที่ดี จึงได้จัดทำ “โครงการลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ปี ๒๕๖5” ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง ( 11 ชุมชน ) ได้รับการดูแลครบตามเกณฑ์ (5 ครั้ง ตามเกณฑ์) ครั้งที่ 1 เมื่ออายุครรภ์น้อยกว่า12 สัปดาห์ ครั้งที่ 2 เมื่ออายุครรภ์ 12 < 20 สัปดาห์ ครั้งที่ 3 เมื่ออายุครรภ์ 20 < 26 สัปดาห์ ครั้งที่ 4 เมื่ออายุครรภ์ 26 < 32 สัปดาห์ ครั้งที่ 5 เมื่ออายุครรภ์ 32 - 40 สัปดาห์
  3. เพื่อให้ทารกหลังคลอดในเขตเทศบาลนครตรัง ( 11 ชุมชน ) มีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม
  4. หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ไม่มีภาวะโลหิตจาง (Hct ≥ 33%)
  5. หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ที่มีภาวะครรภ์เสี่ยงได้รับการฝากครรภ์ที่คลินิกครรภ์เสี่ยง
  6. มารดาและทารกหลังคลอดในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ได้รับการติดตามเยี่ยมหลังคลอด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม./ จิตอาสาในชุมชน ในการติดตามหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกแรกเกิด
  2. กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอดในชุมชน
  3. กิจกรรมติดตามประเมินการดำเนินงาน อสม./จิตอาสาในชุมชน พร้อมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ได้รับการดูแลและมาฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
  2. ทารกหลังคลอดในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมขน) มีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม
  3. หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง ( 11 ชุมชน ) ไม่มีภาวะโลหิตจาง
  4. หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน )ที่มีภาวะครรภ์เสี่ยง ได้รับการฝากครรภ์ที่คลินิกครรภ์เสี่ยง
  5. มารดาและทารกหลังคลอดได้รับการติดตามเยี่ยมหลังคลอด ครบ 3 ครั้ง ตามเกณฑ์
  6. เกิดชมรมจิตอาสาแม่และเด็ก ในชุมชน
  7. ชมรมจิตอาสา แม่และเด็กในชุมชน ผ่านการประเมินมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก กระทรวงสาธารณสุข

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอดในชุมชน

วันที่ 7 มกราคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมทีมพยาบาลประจำชุมชน และแกนนำชุมชน/อสม. ในการจัดทำโครงการครรภ์คุณภาพ
  2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ
  3. ดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
  4. วิเคราะห์ติดตามผลการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ
  5. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการลงติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์มารดาและทารกหลังคลอดใน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรังติดตามดูแลเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ที่บ้านจำนวนทั้งสิ้น 38 คน พบว่ามีหญิงตั้งครรภ์อยู่ในพื้นที่จริงจำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 65.79 ติดตามดูแลเยี่ยมมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้าน จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 88

 

0 0

2. กิจกรรมติดตามประเมินการดำเนินงาน อสม./จิตอาสาในชุมชน พร้อมให้ความรู้

วันที่ 7 มกราคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมทีมพยาบาลประจำชุมชน และแกนนำชุมชน/อสม. ในการจัดทำโครงการครรภ์คุณภาพ
  2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ
  3. ดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
  4. วิเคราะห์ติดตามผลการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ
  5. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดกิจกรรมติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 1 ในวันที่ 25 เมษายน 2565 ณ ที่ทำการชุมชนควนขนุน มีกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการติดตามประเมินการดำเนินงานจำนวน 30 คน และจัดกิจกรรมครั้งที่ 2 ในวันที่ 9 มิถุนายน 2565 ณ ที่ทำการชุมชนควนขนุน มีกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการติดตามประเมินการดำเนินงานจำนวน 30 คน จากการติดตามพบว่า 1 หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11ชุมชน) ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 77.23 (จากมารดาคลอดทั้งหมดหมด 22 คน) 2.หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ได้รับการฝากครรภ์ 5 ครั้งครบตามเกณฑ์ จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 77.27 จากมารดาที่คลลอดทั้งหมด 3. เด็กแรกเกิดในเขตเทศบาลนครตรัง (11ชุมชน) มีน้ำหนักมากว่า 2,500 กรัม จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 81.82 4. หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทสบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ได้รับประทานยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และโฟเลต ทุกคน พบหญิงตั้งครรภ์มีภาวะเลือดจากจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 13.64 5. หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลลนครตรัง (11 ชุมชน) มีภาวะครรภ์เสี่ยงจำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 9.09 (มีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ 1 คน และมีภาวะติดเชื้อโควิด-19 ขณะตั้งครรภ์ 1 คน) ทั้ง2 คนได้รับฝากครรภ์ที่คลีนิคครรภ์เสี่ยง และไม่พบภาวะแทรกซ้อน ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยทั้ง 2 คน 6.มารดาและทารกแรกคลอดในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ได้รับการติดตามเยี่ยมหลังคลอดครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ จำนวน 20 คนคิดเป็นร้อยละ 90.91

 

50 0

3. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม./ จิตอาสาในชุมชน ในการติดตามหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกแรกเกิด

วันที่ 2 มิถุนายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมทีมพยาบาลประจำชุมชน และแกนนำชุมชน/อสม. ในการจัดทำโครงการครรภ์คุณภาพ
  2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ
  3. ดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
  4. วิเคราะห์ติดตามผลการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ
  5. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โรงพยาบาลตรังดำเนินการจัดกิจกรรมอบรมในวันที่ 2 มิถุนายน 2565 ณ ที่ทำการชุมชนควนขนุน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 75 ของหญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์
0.00

 

2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง ( 11 ชุมชน ) ได้รับการดูแลครบตามเกณฑ์ (5 ครั้ง ตามเกณฑ์) ครั้งที่ 1 เมื่ออายุครรภ์น้อยกว่า12 สัปดาห์ ครั้งที่ 2 เมื่ออายุครรภ์ 12 < 20 สัปดาห์ ครั้งที่ 3 เมื่ออายุครรภ์ 20 < 26 สัปดาห์ ครั้งที่ 4 เมื่ออายุครรภ์ 26 < 32 สัปดาห์ ครั้งที่ 5 เมื่ออายุครรภ์ 32 - 40 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 75 ของหญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาล นครตรัง ( 11 ชุมชน ) ได้รับการดูแลครบตามเกณฑ์ (5 ครั้ง ตามเกณฑ์)
0.00

 

3 เพื่อให้ทารกหลังคลอดในเขตเทศบาลนครตรัง ( 11 ชุมชน ) มีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม
ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิดในเขตเทศบาลนครตรัง ( 11 ชุมชน ) มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7
0.00

 

4 หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ไม่มีภาวะโลหิตจาง (Hct ≥ 33%)
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง(11 ชุมชน)ทุกคน ได้รับการดูแลรับประทานยาเม็ดเสริมไอโอดีน (150 – 200 ไมโครกรัม) ธาตุเหล็ก 60 มิลลิกรัม และโฟเลต 400 ไมโครกรัมและมีภาวะโลหิตจางไม่เกินร้อยละ 18
0.00

 

5 หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ที่มีภาวะครรภ์เสี่ยงได้รับการฝากครรภ์ที่คลินิกครรภ์เสี่ยง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน)ที่มีภาวะครรภ์เสี่ยงทุกคน ได้รับการฝากครรภ์ที่คลินิกครรภ์เสี่ยง
0.00

 

6 มารดาและทารกหลังคลอดในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ได้รับการติดตามเยี่ยมหลังคลอด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของมารดาและทารกหลังคลอดในเขตเทศบาลนครตรัง(11 ชุมชน) ได้รับการติดตามเยี่ยมหลังคลอดครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์ (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง ( 11 ชุมชน ) ได้รับการดูแลครบตามเกณฑ์ (5 ครั้ง ตามเกณฑ์) ครั้งที่ 1 เมื่ออายุครรภ์น้อยกว่า12 สัปดาห์ ครั้งที่ 2 เมื่ออายุครรภ์ 12 < 20 สัปดาห์ ครั้งที่ 3 เมื่ออายุครรภ์ 20 < 26 สัปดาห์ ครั้งที่ 4 เมื่ออายุครรภ์ 26 < 32 สัปดาห์ ครั้งที่ 5 เมื่ออายุครรภ์ 32 - 40 สัปดาห์ (3) เพื่อให้ทารกหลังคลอดในเขตเทศบาลนครตรัง  ( 11 ชุมชน ) มีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม (4) หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ไม่มีภาวะโลหิตจาง (Hct ≥ 33%) (5) หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ที่มีภาวะครรภ์เสี่ยงได้รับการฝากครรภ์ที่คลินิกครรภ์เสี่ยง (6) มารดาและทารกหลังคลอดในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ได้รับการติดตามเยี่ยมหลังคลอด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม./ จิตอาสาในชุมชน ในการติดตามหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกแรกเกิด (2) กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอดในชุมชน (3) กิจกรรมติดตามประเมินการดำเนินงาน อสม./จิตอาสาในชุมชน พร้อมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ปี 2565

รหัสโครงการ 2565-L6896-01-04 รหัสสัญญา 7/2565 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ปี 2565 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2565-L6896-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายไกรสร โตทับเที่ยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด