กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง


“ โครงการส่งเสริมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีน เด็กแรกเกิด - 6 ปี ในชุมชน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2565 ”

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายไกรสร โตทับเที่ยง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีน เด็กแรกเกิด - 6 ปี ในชุมชน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2565-L6896-01-05 เลขที่ข้อตกลง 8/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีน เด็กแรกเกิด - 6 ปี ในชุมชน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2565 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีน เด็กแรกเกิด - 6 ปี ในชุมชน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีน เด็กแรกเกิด - 6 ปี ในชุมชน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2565-L6896-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 56,890.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กแรกเกิด - 6 ปี เป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของการพัฒนาการเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา โดยเฉพาะด้านสมอง ซึ่งเติบโตถึงร้อยละ 80 ของผู้ใหญ่ เป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการปูพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต นอกเหนือจากการอยู่รอด ปลอดภัย โดยเฉพาะในระยะ 2 ปีแรกของชีวิตซึ่งเป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดทั้งด้านร่างกายและสมอง เพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน รวมทั้งการกระตุ้นให้มีการพัฒนาได้เต็มศักยภาพ หากเด็กวัยนี้ได้รับการดูแลให้มีการพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์อย่างถูกต้อง โดยมีครอบครัวเป็นหลักเหมาะสมกับวัยแล้ว เด็กก็จะเติบโตเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติให้สามารถแข่งขันกับประเทศอื่น ๆ ต่อไป การที่เด็กแรกเกิด - 6 ปี จะได้รับการพัฒนาได้อย่างเต็มศักยภาพและเจริญเติบโตไปเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ จำเป็นที่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายร่วมมือกันให้การดูแล ได้แก่ ครอบครัว บิดา มารดา เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ ครู ในการติดตามการได้รับวัคซีน โภชนาการ พัฒนาการ ใน 11 ชุมชน ในเขตเทศบาลนครตรังมีเด็กแรกเกิด – 6 ปี จำนวน 320 คน จำนวนเด็กที่เฝ้าระวังทั้งหมด จำนวน 303 คน คิดเป็นร้อยละ 94.7 ภาวะโภชนาการน้ำหนัก/อายุ ตามเกณฑ์จำนวน 214 คิดเป็นร้อยละ 70.4 เกินเกณฑ์จำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 15.5 ค่อนข้างมากจำนวน  19 คน คิดเป็นร้อยละ 6.3 ค่อนข้างน้อยจำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 4.6 น้อยกว่าเกณฑ์จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 3.0 ภาวะโภชนาการสูง/อายุตามเกณฑ์จำนวน 220 คน คิดเป็นร้อยละ ๗2.6 สูงกว่าเกณฑ์ 34 คน คิดเป็นร้อยละ11.2 ค่อนข้างสูงจำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 3.3 ค่อนข้างเตี้ยจำนวน 16คน คิดเป็นร้อยละ 5.3 เตี้ยจำนวน 23 คิดเป็นร้อยละ 7.6 ภาวะโภชนาการน้ำหนัก/สูง สมส่วนจำนวน 193 คน คิดเป็นร้อยละ 63.7 อ้วนจำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 10.9 เริ่มอ้วนจำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 8.9 ท้วมจำนวน 14 คนคิดเป็นร้อยละ 4.6 ค่อนข้างผอมจำนวน10คนคิดเป็นร้อยละ 3.3 ผอมจำนวน 26คน คิดเป็นร้อยละ 8.6 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนร้อยละ ๑๐๐ จากข้อมูลดังกล่าว จะเห็นได้ว่าเด็กที่มีปัญหาทางภาวะโภชนาการด้าน เตี้ย ผอม และ น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 16.2 โดยแบ่งเป็นเตี้ยจำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 6.3 ด้านผอมจำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 6.9 ด้านน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.7 ด้านน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์และเตี้ย จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.7 ด้านน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์และผอม จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.9 ด้านน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เตี้ยและผอม จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.7
  จากการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2564 การติดตามเด็กที่มีปัญหาทางภาวะโภชนาการด้านเตี้ย ผอม เตี้ยและผอม จำนวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 15.8 โดยแบ่งเป็นเตี้ยจำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 6.5 ด้านผอมจำนวน  30 คน คิดเป็นร้อยละ 8.5 ทั้งเตี้ยและผอมจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.9 ซึ่งในระหว่างการดำเนินโครงการได้จำหน่ายเด็กที่มีอายุเกินเกณฑ์ จำนวน 9 คน และ ย้ายออกนอกพื้นที่ จำนวน 4 คน คงเหลือ 43 คน ได้ค้นหาเด็กที่มีปัญหาทางภาวะโภชนาการเข้าร่วมโครงการ เพิ่ม 13 คน เป็นเด็กที่มีปัญหาทางภาวะโภชนาการเตี้ยจำนวน 7 คน ด้านผอมจำนวน 6 คน โดยมีปัญหาทางภาวะโภชนาการด้านเตี้ย จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 7.9 ด้านผอมจำนวน 26 คนคิดเป็นร้อยละ 7.3 ทั้งเตี้ยและผอมจำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.6 รวมทั้งสิ้น 56 คน   ผลจากการดำเนินงาน เด็กที่มีปัญหาทางภาวะโภชนาการด้านเตี้ยจำนวน 28 คน ดีขึ้น 20 คน คงเดิม
7 คน และแย่ลง 1 คน เด็กที่มีปัญหาทางภาวะโภชนาการด้านผอม จำนวน 26 คน ดีขึ้น 14 คน คงเดิม 12 คน
เด็กที่มีปัญหาทางภาวะโภชนาการทั้งเตี้ยและผอม จำนวน 2 คน ดีขึ้น 2 คน โดยสรุปดีขึ้นจำนวน 36 คน คิดเป็น ร้อยละ 64.29 คงเดิมจำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 33.93 และแย่ลง จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1.79 (ซึ่งมีปัญหาทางด้านพัฒนาการร่วมด้วย) ดังนั้น กลุ่มงานการพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลตรัง จึงได้จัดทำ “โครงการส่งเสริมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีน เด็กแรกเกิด - ๖ ปี ในชุมชน ๑๑ ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี ๒๕๖5” เพื่อการดูแลส่งเสริมให้เด็กแรกเกิด - ๖ ปี ได้รับการดูแลในเรื่องการเจริญเติบโต พัฒนาการทางด้านต่างๆ ของเด็กตามวัยได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ เพื่อการเจริญเติบโตที่สมวัยและอนาคตเป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิด - 6 ปี ในเรื่องภาวะโภชนาการ
  2. เพื่อส่งเสริมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิด - 6 ปี ในเรื่องภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีน ให้ได้ครบตามเกณฑ์มาตรฐาน และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
  3. เพื่อส่งเสริมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิด - 6 ปี ที่ด้อยโอกาสและมีปัญหาสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมดำเนินการสำรวจเด็กแรกเกิด - 6 ปี ในละแวกที่รับผิดชอบพร้อมทั้งชั่งน้ำหนัก เด็กแรกเกิด - 6 ปี ใน ชุมชน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ทุก 3 เดือนจำนวน 4 ครั้ง/ปี
  2. กิจกรรมติดตามการได้รับวัคซีนในเด็กแรกเกิด - 6 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์
  3. กิจกรรมการประเมินพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 6 ปี ในชุมชน
  4. กิจกรรมแก้ไขปัญหาทางภาวะโภชนาการ, เด็กแรกเกิด - 6 ปี จำนวน 49 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กแรกเกิด - 6 ปี ในเขตรับผิดชอบได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการอย่างน้อยร้อยละ 80
  2. เด็กแรกเกิด - 6 ปี ในเขตรับผิดชอบ 11 ชุมชน ที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีนได้รับการส่งเสริมดูแลอย่างต่อเนื่อง
  3. เด็กแรกเกิด - 6 ปี ในเขตรับผิดชอบ 11 ชุมชน ที่ด้อยโอกาสและมีปัญหาสุขภาพได้รับการดูแลทุกคน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมดำเนินการสำรวจเด็กแรกเกิด - 6 ปี ในละแวกที่รับผิดชอบพร้อมทั้งชั่งน้ำหนัก เด็กแรกเกิด - 6 ปี ใน ชุมชน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ทุก 3 เดือนจำนวน 4 ครั้ง/ปี

วันที่ 7 มกราคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ 1. ประชุม อสม.ที่ 11 ชุมชมร่วมกันในการดำเนินงาน 2. จัดทำแผน/โครงการ เพื่อขออนุมัติจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง 3. ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง   4. ประชุมชี้แจงโครงการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข เรื่องการดำเนินงานเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีนเด็กแรกเกิด - ๖ ปี ในชุมชน 5. จัดทำแบบบันทึกต่าง ๆ เป็นรายชุนชม ขั้นดำเนินงาน 1. ดำเนินการสำรวจเด็กแรกเกิด - 6 ปี ในละแวกที่รับผิดชอบพร้อมทั้งชั่งน้ำหนักเด็กแรกเกิด - 6 ปี ใน ชุมชน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง โดยอาสาสมัครสาธารณสุขพร้อมเปรียบเทียบเกณฑ์ 2. ติดตามการได้รับวัคซีนในเด็กแรกเกิด - 6 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์โดยอาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ 3. ทำการประเมินพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 6 ปี ตามแบบบันทึกเกณฑ์ประเมินพัฒนาการเด็กตามวัย โดยอาสาสมัครสาธารณสุข 5. จัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการ,พัฒนาการ พร้อมให้คำปรึกษา/ความรู้รายกลุ่ม/รายบุคคล ขั้นประเมินผล
1. ติดตามประเมินซ้ำในชุมชนทุก 3 เดือน 2. ติดตามประเมินผลและวิเคราะห์การดำเนินงาน 3. สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการสำรวจเด็กเรกเกิด – 6 เดือน ในละแวกที่รับผิดชอบพร้อมทั้งชั่งน้ำหนัก เด็กแรกเกิด – 6 ปี ใน ชุมชน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ทุก 3 เดือน จำนวน 4 ครั้ง/ปี โดย อสม.

 

0 0

2. กิจกรรมติดตามการได้รับวัคซีนในเด็กแรกเกิด - 6 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์

วันที่ 7 มกราคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ 1.  ประชุม อสม.ที่ 11 ชุมชมร่วมกันในการดำเนินงาน 2. จัดทำแผน/โครงการ เพื่อขออนุมัติจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง 3. ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง     4. ประชุมชี้แจงโครงการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข เรื่องการดำเนินงานเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีนเด็กแรกเกิด - ๖ ปี ในชุมชน 5. จัดทำแบบบันทึกต่าง ๆ เป็นรายชุนชม ขั้นดำเนินงาน 1. ดำเนินการสำรวจเด็กแรกเกิด - 6 ปี ในละแวกที่รับผิดชอบพร้อมทั้งชั่งน้ำหนักเด็กแรกเกิด - 6 ปี ใน ชุมชน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง โดยอาสาสมัครสาธารณสุขพร้อมเปรียบเทียบเกณฑ์ 2. ติดตามการได้รับวัคซีนในเด็กแรกเกิด - 6 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์โดยอาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ 3. ทำการประเมินพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 6 ปี ตามแบบบันทึกเกณฑ์ประเมินพัฒนาการเด็กตามวัย โดยอาสาสมัครสาธารณสุข 5. จัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการ,พัฒนาการ พร้อมให้คำปรึกษา/ความรู้รายกลุ่ม/รายบุคคล ขั้นประเมินผล
1. ติดตามประเมินซ้ำในชุมชนทุก 3 เดือน 2. ติดตามประเมินผลและวิเคราะห์การดำเนินงาน 3. สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการติดตามการวัคซีนในเด็กแรกเกิด – 6 ปี ในชุมชน จำนวน 176 คน

 

0 0

3. กิจกรรมการประเมินพัฒนาการเด็กแรกเกิด-6 ปีในชุมชน

วันที่ 7 มกราคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ดำเนินการติดตามวัคซีนในเด็กแรกเกิด - 6 ปีในชุมชนจำนวน 320 คน

 

0 0

4. กิจกรรมแก้ไขปัญหาทางภาวะโภชนาการ, เด็กแรกเกิด - 6 ปี จำนวน 49 คน

วันที่ 7 มกราคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงพื้นที่โดยการเยี่ยมบ้านร่วมกันระหว่าง อสม.กับพยาบาลชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ดำเนินการติดตาม ประเมินพัฒนาการในเด็กแรกเกิด – 6 ปี ในชุมชน จำนวน 320 คน และได้ดำเนินการส่งเสริมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิด – 6 เดือน ที่ด้อยโอกาสและมีปัญหาด้านสุขภาพ โดยการมอบนมกล่องรสจืดและไข่ไก่ จำนวน 49 คน ได้แก่ด้านเตี้ย จำนวน 19 คน ด้านผอม จำนวน 21 คน ด้านน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 2 คน ด้านน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์และเตี้ย จำนวน 2 คน ด้านน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ด้านน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ และผอม จำนวน 3 คน และผลจากการดำเนินงาน เด็กที่มีปัญหาทางภาวะโภชนาการด้านเตี้ยจำนวน 19 คน ดีขึ้น 15 คน และคงเดิม 4 คน ด้านผอม จำนวน 21 ดีขึ้น 11 คน คงเดิม 9 คน และแย่ลง 1 คน ด้านน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 2 คน ดีขึ้น 1 คน และแย่ลง 1 คน ด้านน้อยกว่าน้อยกว่าเกณฑ์ เตี้ยและผอม จำนวน 2 คน ดีขึ้น 2 คน โดยสรุปรวม ดีขึ้นจำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 61.22 คงเดิม 17 คน คิดเป็นร้อยละ 34.69 และแย่ลงจำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.08

 

49 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิด - 6 ปี ในเรื่องภาวะโภชนาการ
ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิด - 6 ปี ในเขตรับผิดชอบได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการอย่างน้อยร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิด - 6 ปี ในเรื่องภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีน ให้ได้ครบตามเกณฑ์มาตรฐาน และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิด - 6 ปี ในเขตรับผิดชอบ 11 ชุมชน ที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีนได้รับการส่งเสริมดูแลอย่างต่อเนื่อง
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิด - 6 ปี ที่ด้อยโอกาสและมีปัญหาสุขภาพ
ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิด - 6 ปี ในเขตรับผิดชอบ 11 ชุมชน ที่ด้อยโอกาสและมีปัญหาสุขภาพได้รับการดูแลทุกคน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิด - 6 ปี ในเรื่องภาวะโภชนาการ (2) เพื่อส่งเสริมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิด - 6 ปี ในเรื่องภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีน  ให้ได้ครบตามเกณฑ์มาตรฐาน  และมีคุณภาพชีวิตที่ดี (3) เพื่อส่งเสริมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิด - 6 ปี ที่ด้อยโอกาสและมีปัญหาสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมดำเนินการสำรวจเด็กแรกเกิด - 6 ปี  ในละแวกที่รับผิดชอบพร้อมทั้งชั่งน้ำหนัก  เด็กแรกเกิด - 6 ปี ใน  ชุมชน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ทุก 3 เดือนจำนวน 4 ครั้ง/ปี (2) กิจกรรมติดตามการได้รับวัคซีนในเด็กแรกเกิด - 6 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ (3) กิจกรรมการประเมินพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 6 ปี ในชุมชน (4) กิจกรรมแก้ไขปัญหาทางภาวะโภชนาการ, เด็กแรกเกิด - 6 ปี จำนวน 49 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีน เด็กแรกเกิด - 6 ปี ในชุมชน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2565

รหัสโครงการ 2565-L6896-01-05 รหัสสัญญา 8/2565 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีน เด็กแรกเกิด - 6 ปี ในชุมชน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2565 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2565-L6896-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายไกรสร โตทับเที่ยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด