กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง


“ โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในโรงเรียนโดยชุดตรวจ ATK โรงเรียนเทศบาล 7 (วัดประสิทธิชัย) ”

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายทวีสิทธิ์ สมัครกิจ

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในโรงเรียนโดยชุดตรวจ ATK โรงเรียนเทศบาล 7 (วัดประสิทธิชัย)

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2565-L6896-05-07 เลขที่ข้อตกลง 17/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในโรงเรียนโดยชุดตรวจ ATK โรงเรียนเทศบาล 7 (วัดประสิทธิชัย) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในโรงเรียนโดยชุดตรวจ ATK โรงเรียนเทศบาล 7 (วัดประสิทธิชัย)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในโรงเรียนโดยชุดตรวจ ATK โรงเรียนเทศบาล 7 (วัดประสิทธิชัย) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2565-L6896-05-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,280.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยในปัจจุบัน สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ที่ยังคงมีการกระจายอยู่ทั่วไป ทั้งที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและอีกหลายประเทศทั่วโลกซึ่งทราบกันดีว่าเป็นโรคติดต่ออันตราย เป็นเหตุให้รัฐบาลไทยได้มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม 2563 และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวไปเป็นคราวที่ 14 จนถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2564 และ และห้วงเวลาที่ผ่านมาจังหวัดตรังได้เริ่มฉีดวัคซีนให้แก่กลุ่มเยาวชน นักเรียน นักศึกษาเพื่อให้สามารถกลับมาสู่สภาพการเรียนการสอนตามปกตได้อย่างปลอดภัย ซึ่งตามคำสั่งจังหวัดตรังที่ 4326/2564 เรื่อง มาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่จังหวัดตรัง ลงวันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 ข้อ 8.1.3 “หากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่จังหวัดตรัง คลี่คลายให้โรงเรียน สถานศึกษาและสถาบันการศึกษาทุกประเภทเตรียมความพร้อมสำหรับการเรียนการสอนตามปกติ (on site)” โดยให้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 ที่จังหวัดตรังกำหนดและตามหนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่วนที่สุด ที่ มท 0816.3/ว2574 ลงวันที่  2 พฤศจิกายน 2564 เรื่อง แนวทางการเปิดสถานศึกษา(โรงเรียน/วิทยาลัย)  ของสถานการณ์ศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (เพิ่มเติม) โดยกำหนดให้สถานศึกษาปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเปิดโรงเรียนหรือสถานบันการศึกษา ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่ง พรก.ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (ฉบับที่ 34) ลงวันที่ 28 ตุลาคม 2564 นั้น โดยประกาศกระทรวงศึกษาธิการดังกล่าว กำหนดให้จังหวัดพื้นที่ควบคุมสูงสุด (ตรัง จัดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุด ตามคำสั่ง ศบค.ที่ 15/2564 ลงวันที่ 15 ตุลาคม 2564) ปฏิบัติตามมาตรการ Sandbox: safety zone in school ดังนี้ 1. เข้ม 6 มาตรการหลัก (DMHT-RC) 6 มาตรการเสริม (SSET-CQ) 2. แนวทาง 7 มาตรการเข้มสำหรับสถานศึกษาแบบไป-กลับ 3. มีการตรวจคัดกรองหาเชื้อ โดยการสุ่มตรวจเป็นระยะๆ 3. ครูและบุคลากรในสถานศึกษาได้รับวัคซีนเข็มที่ 1 แล้ว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 และมีการประเมินความเสี่ยง (TST) 2 วันต่อสัปดาห์       ในการนี้โรงเรียนเทศบาล 7 (วัดประสิทธิชัย) จึงต้องปรับกระบวนการโดยจัดให้มีกิจกรรมคัดกรองนักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อเข้าสู่ระบบการคัดกรองตรวจหาเชื้อโควิด – 19  และเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติด้านสุขอนามัยส่วนบุคคลและครอบครัว รวมถึงการส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนและครูบุคลากรทางการศึกษาและครอบครัวได้ปฏิบัติตนตามแนวทางปฏิบัติด้านสุขอนามัยที่กรมควบคุมโรคกำหนด เพื่อการเตรียมความพร้อมสำหรับการเรียนการสอนแบบปกติ (On site) ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการเฝ้าระวังติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ให้ความรู้ด้านการระบาดของโรคติดเชื้อ โควิด-19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนําโรคระบาด ในชุมชนได้
  2. เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับคัดกรองด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทัศนคติให้สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดติดเชื้อโรคโควิด-19 อาจจะเกิดขึ้นได้ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมตรวจคัดกรองหาเชื้อ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับคัดกรองโรคด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit และเฝ้าระวัง ติดตามรายงานผลอย่างต่อเนื่อง
2. สามารถควบคุมป้องกันโรคระบาดโควิด -19 ในโรงเรียนและชุมชนได้ 3. สามารถสร้างความพร้อมในการเรียนการสอนแบบปกติ (On site)


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมตรวจคัดกรองหาเชื้อ

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมทีมงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อแสดงความคิดเห็น  ความต้องการในการกำหนดมาตรการคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit
  2. จัดทำแผนวิธีการดำเนินงานโครงการและเขียนโครงการ เสนอโครงการขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
  3. คัดกรองผู้มีความเสี่ยงในโรงเรียนก่อนการเปิดเทอมโดยชุดตรวจ ATK ในโรงเรียน
  4. จัดทำทะเบียนการตรวจ โดยระบุชื่อ สกุล เลขบัตรประชาชน หมายเลขโทรศัพท์ที่ติดต่อได้ และมีการติดตามหรือให้กลุ่มที่ได้รับการตรวจ ATK สังเกตอาการตนเองหลังการตรวจอีก 3-5 วัน หากมีอาการไข้ ไอ ความผิดปกติทางสุขภาพให้รีบแจ้งผู้ประสานงานที่โรงเรียน อสม. ศูนย์บริการสาธารณสุขในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อประเมินอาการ โดยอาจมีการตรวจด้วย ATK ซ้ำ
  5. เมื่อมีผลตรวจจากการคัดกรองด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit แล้วให้แจ้งผลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ เพื่อดำเนินการตามมาตรการควบคุมโรคในส่วนที่เกี่ยวข้อต่อไป 6.สรุปผลดำเนินงานโครงการนำส่งคณะกรรมการกองทุนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการจจัดกิจกรรมคัดกรองโรคด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit โรงเรียนเทศบาล 7 มีการตั้งจุดคัดกรอง แก่ผู้ที่เข้ามาในโรงเรียนและเข้มงวดเรื่องการใส่หน้ากากอนามัยในเขตพื้นที่สถานศึกษาและสำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงสูงทางโรงเรียนจะทำการตรวจคัดกรองหาเชื้อด้วย ATK และมีการติดตาม รายงานผลอย่างต่อเนื่องต่อสาธารสุขจังหวัดตรัง และสำนักการศึกษาเทศบาลนครตรังเป็นประจำทุกวัน ในส่วนของการควบคุมป้องกันโรคระบาด โควิด-19 ในโรงเรียนและชุมชน โรงเรียนเทศบาล 7 ใช้ชุดตรวจ ATK ในการคัดกรองนักเรียน และบุคคลากรทางการศึกษา หากพบนักเรียนป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทางโรงเรียนจะแจ้งให้ผู้ปกครองทราบเพื่อส่งตัวเข้ารับการรักษาและมีมาตรการควบคุมป้องกันโรค โดยให้นักเรียนที่ป่วยหยุดเรียนและเพื่อนร่วมห้องปฏิบัติตนตามมารตรการนอกจากนี้ทางโรงเรียนมีการเฝ้าระวังการติดเชื้อที่จะเกิดจากครอบครัวของนักเรียน โดยครูประจำชั้นจะสอบถามประสานงานกับผู้ปกครองทางไลน์กลุ่มของชั้นเรียนในแต่ละห้องเพื่อเป็นการควบคุมป้องกันโรค ในการจัดการเรียนการสอนแบบปกติของโรงเรียนจะคำนึงถึงแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โรงเรียนได้ดำเนินการให้ความรู้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง โดยมีการจัดบอร์ดให้ความรู้ ติดไวนิลประชาสัมพันธ์ ข่าวสารบริเวณหน้าโรงเรียนและสถานที่ต่างๆ ในโรงเรียน

 

144 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการเฝ้าระวังติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ให้ความรู้ด้านการระบาดของโรคติดเชื้อ โควิด-19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนําโรคระบาด ในชุมชนได้
ตัวชี้วัด : นักเรียน บุคลากรทางการศึกษา ได้รับความรู้และเฝ้าระวังดูแลการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
0.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับคัดกรองด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทัศนคติให้สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดติดเชื้อโรคโควิด-19 อาจจะเกิดขึ้นได้ในชุมชน
ตัวชี้วัด : นักเรียน บุคลากรทางการศึกษา ได้รับการตรวจคัดกรองด้วยชุดตรวจโควิดAntigen Test Kit
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา  ได้รับการเฝ้าระวังติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด  ให้ความรู้ด้านการระบาดของโรคติดเชื้อ โควิด-19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนําโรคระบาด ในชุมชนได้ (2) เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา  ได้รับคัดกรองด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทัศนคติให้สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดติดเชื้อโรคโควิด-19 อาจจะเกิดขึ้นได้ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมตรวจคัดกรองหาเชื้อ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในโรงเรียนโดยชุดตรวจ ATK โรงเรียนเทศบาล 7 (วัดประสิทธิชัย)

รหัสโครงการ 2565-L6896-05-07 รหัสสัญญา 17/2565 ระยะเวลาโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 30 กันยายน 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในโรงเรียนโดยชุดตรวจ ATK โรงเรียนเทศบาล 7 (วัดประสิทธิชัย) จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2565-L6896-05-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายทวีสิทธิ์ สมัครกิจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด