กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
ประเมินผลกิจกรรมโครงการและสรุปผลการดำเนินงาน10 พฤษภาคม 2565
10
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย จนท.กองทุน อบต.แม่ยางร้อง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินผลกิจกรรมโครงการและสรุปผลการดำเนินงานเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลแม่ยางร้อง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เด็กปฐมวัยและระดับประถมศึกษา โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ(วันละอย่างน้อย 60
      นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน)
  2. โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง มีการจัดการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active-play Active-learning)
  3. นักเรียนมีสมรรถภาพร่างกายหลังการจัดกิจกรรมดีขึ้น
5.ปฏิบัติกิจกรรมเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน4 เมษายน 2565
4
เมษายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย จนท.กองทุน อบต.แม่ยางร้อง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ปฏิบัติกิจกรรมเกษตรอินทรีย์ เวลา 15.00-15.30 น. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
          - ส่งเสริมการปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์           - ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวแบบตะกร้า           - การเก็บเศษวัชพืชและใบไม้เพื่อทำปุ๋ยหมัก

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.  เด็กปฐมวัยและระดับประถมศึกษา โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ(วันละอย่างน้อย 60
    นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน) 2.  โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง มีการจัดการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active-play Active-learning)
3.  นักเรียนมีสมรรถภาพร่างกายหลังการจัดกิจกรรมดีขึ้น

4.กิจกรรมเคลื่อนไหวร้องเล่น เต้น รำมวยไทย ตบมะผาบ (กิจกรรมพื้นบ้าน)4 เมษายน 2565
4
เมษายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย จนท.กองทุน อบต.แม่ยางร้อง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.ปฏิบัติกิจกรรมทุกวัน เวลา 0๘.๐0 – 0๘.๔๐ น. รวม ๔๐ นาที ของทุกวันร้องเพลงชาติ สวดมนต์ กิจกรรมเคลื่อนไหวร้องเล่น เต้น รำมวยไทย ตบมะผาบ (กิจกรรมพื้นบ้าน)

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.  เด็กปฐมวัยและระดับประถมศึกษา โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ(วันละอย่างน้อย 60
    นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน) 2.  โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง มีการจัดการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active-play Active-learning)
๓.  นักเรียนมีสมรรถภาพร่างกายหลังการจัดกิจกรรมดีขึ้น

3.จัดทำคู่มือความรู้และบันทึกกิจกรรมทางกาย4 เมษายน 2565
4
เมษายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย จนท.กองทุน อบต.แม่ยางร้อง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดทำคู่มือความรู้และบันทึกกิจกรรมทางกาย จำนวน 89 เล่ม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.  เด็กปฐมวัยและระดับประถมศึกษา โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ(วันละอย่างน้อย 60
    นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน) 2.  โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง มีการจัดการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active-play Active-learning)
3.  นักเรียนมีสมรรถภาพร่างกายหลังการจัดกิจกรรมดีขึ้น

2.จัดทำสื่อการเรียนรู้กิจกรรมทางกาย4 เมษายน 2565
4
เมษายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย จนท.กองทุน อบต.แม่ยางร้อง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดทำวัสดุอุปกรณ์ และสื่อการเรียนรู้กิจกรรมทางกาย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.  เด็กปฐมวัยและระดับประถมศึกษา โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ(วันละอย่างน้อย 60
    นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน) 2.  โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง มีการจัดการเรียนรู้และการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active-play Active-learning)
3.  นักเรียนมีสมรรถภาพร่างกายหลังการจัดกิจกรรมดีขึ้น

1.ปรับปรุงพื้นที่ และจัดเตรียมพื้นที่ในการสร้างถนนการเรียนรู้ เพื่อเพิ่มพื้นที่การทำกิจกรรมทางกาย4 เมษายน 2565
4
เมษายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย จนท.กองทุน อบต.แม่ยางร้อง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ปรับปรุงพื้นที่ และท่าสีวาดภาพสร้างพื้นที่บนถนนเพื่อการเรียนรู้

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.  เด็กปฐมวัยและระดับประถมศึกษา โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ(วันละอย่างน้อย 60  นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน)