กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการลดความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มเสี่ยงสูงแบบวิถีใหม่ตำบลฉลุง
รหัสโครงการ 65-L5273-1-4
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง
วันที่อนุมัติ 12 มกราคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2565 - 15 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 14,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุดา นิยมเดชา
พี่เลี้ยงโครงการ นางดวงใจ อ่อนแก้ว
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.007,100.296place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ม.ค. 2565 15 ก.ย. 2565 14,400.00
รวมงบประมาณ 14,400.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน ต้องเร่งรีบในการดำเนินชีวิต จึงส่งผลให้บริโภคอาหารโดยไม่คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ ทำให้มีโอกาสเสสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และพบว่าผู้ป่วยกลุ่มโรคเบาหวานความดันที่ได้รับการประเมินกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด จะพบในอายุ มากกว่า55 ปีขึ้นไปเป็นเพศชายมากกว่าผู้หญิง จากผลการดำเนินงานในคลินิกโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานของ รพ.สต.ฉลุง ปี 2564 พบว่า มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 795 คน ผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 290 คน และผู้ป่วยดังกล่าวเป็นผู้ป่วยที่มีโอกาสเสี่ยงด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด จำนวน 349 คน ดังนั้น รพ.สต.ฉลุง ได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวที่จะเกิดขึ้น และมีความห่วงใยต่อภาวะสุขาพของประชาชนที่จะเกิดโรคที่เป็นอันตรายต่อกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ ลดความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด กลุ่มเสี่ยงสูง แบบวิถีใหม่ ตำบลฉลุงขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด และป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคตได้ เนื่องจาก เป็นกลุ่มเป้าหมายเป็นการติดตามแบบเข้มข้น ที่อยู่นอกเหนือจากงานประจำ วัสดุอุปกรณ์ดังกล่าวจึงไม่เพียงพอกับการให้บริการกับผู้ป่วย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อ 1.จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) รายใหม่ลดลง

กลุ่มเสี่ยงมีความรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับ ร้อยละ 80

0.00
2 ข้อ 2.เพื่อเปลี่ยน SCORE CVD Risk ของกลุ่มเสียและเสี่ยงสูงต่อผู้ป่วยด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ลดลง

การเปลี่ยน SCORE  ลดลงของกลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูงต่อ CVD (SCORE 4,5) เปรียบเทียบรอบ 6 เดือน ไม่เกินร้อยละ 90

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณม.ค. 65ก.พ. 65มี.ค. 65เม.ย. 65พ.ค. 65มิ.ย. 65ก.ค. 65ส.ค. 65ก.ย. 65
1 กิจกรรมติดตามประเมินผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงด้วยโรคหัวใจ(10 ม.ค. 2565-30 ส.ค. 2565) 14,400.00                  
รวม 14,400.00
1 กิจกรรมติดตามประเมินผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงด้วยโรคหัวใจ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 14,400.00 1 14,400.00
10 ม.ค. 65 - 30 ส.ค. 65 ติดตามประเมินผู้ป่วยที่มีโอกาสเสี่ยงด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) 50 14,400.00 14,400.00

วิธีดำเนินการ 1.จัดทำโครงการเพื่อเสนอขอรับความเห็นชอบและอนุมัติ 2.คัดเลือกกลุ่มเสี่ยงสูงต่อผู้ป่วยด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด จากคลินิกโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานจำนวน 50 คน 3.นัดหมายกลุ่มเสี่ยงจัดกิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ จำนวน 50 คน -การตรวจร่างกาย วัดความดัน ชั่งน้ำหนัก ส่วนสูง รอบเอว ตามแผนการรักษา -ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ตรวจเท้าโดยปากกาเส้นเอ็น (เครื่องตรวจความรู้สึกของเท้าผู้ป่วยเบาหวาน) ตรวจไต หัวใจ (เจาะเลือดประจำปี) 4.ติดตามผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 50 คน โดยการชั่งน้ำหนัก ส่วนสูง วัดรอบเอว ความดันโลหิต เจาะเลือดตรวจหาน้้ำตาลในเลือด (เจาะปลายนิ้ว) ลงในสมุดประจำตัวผู้ป่วย โดยน้ดติมตามตามแผนการรักษา 5.นัดหมายแพทย์ อย่างน้อย 1 ครั้ง เพื่อประเมินการรักษา ดูผลการเจาะเลือดประจำปี วางแผนการรักษาต่อเนื่อง

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด รายใหม่ลดลง 2.เปลี่ยน SCORE CVD Risk ของกลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูงต่อผู้ป่วยด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดลดลง 3.ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง หลังได้รับการปรับเปลี่ยนความเสี่ยงแล้วมี CVD Risk ลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 มี.ค. 2565 15:41 น.