กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการถังขยะปั้นปุ๋ย และถังขยะเปียก สร้างเสริมสุขภาวะที่ดีคนคอหงส์
รหัสโครงการ 66-L7257-2-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสวัสดิการสังคม เทศบาลเมืองคอหงส์
วันที่อนุมัติ 23 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2566 - 15 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 219,220.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายรวี ไกรมุ่ย
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2566 30 ก.ย. 2566 219,220.00
รวมงบประมาณ 219,220.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรื่อนที่มีรู้เรื่องการจัดการขยะอินทรีย์ครัวเรือนมิให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค
0.00
2 ร้อยละของครัวเรือนที่สามารถนำขยะอินทรีย์ในครัวเรือนมาทำปุ๋ยหมักอินทรีย์ เพื่อประโยชน์ในการปลูกพืชผักปลอดภัยในครัวเรือน
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในชุมชน ซึ่งมีต้นทางมาจากขยะครัวเรือนเป็นส่วนใหญ่ การจัดการขยะครัวเรือนโดยการพัฒนาเทคโนโลยีการต่างๆที่สามารถเปลี่ยนขยะให้มีมูลค่า และใช้ประโยชน์ทางการเกษตร จึงเป็นทางเลือกที่สามารถจัดการขยะให้ยั่งยืน เป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาจากต้นทาง ช่วยสร้างงานสร้างอาชีพทางเลือกให้กับประชาชนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม โดยกำหนดกลุ่มเป้าหมายตัวแทนครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 4 ชุมชนๆ ละ 25 ครัวเรือน รวมเป็นจำนวน 100 ครัวเรือน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่ออบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะอินทรีย์ครัวเรือนมิให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรค

ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถจัดการขยะอินทรีย์ได้ถูกต้องเพิ่มขึ้น

0.00 50.00
2 เพื่อนำขยะอินทรีย์ในครัวเรือนมาทำปุ๋ยหมักอินทรีย์ เพื่อประโยชน์ในการปลูกพืชผักปลอดภัยในครัวเรือน และมีสุขภาพที่ดี

ร้อยละของครัวเรือน มีการนำปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้จากการหมักมาใช้ในการปลูกพืชผักปลอดภัย สร้างการบริโภคที่ปลอดภัย และมีสุขภาพที่ดีเพิ่มขึ้น

0.00 50.00
3 เพื่อลดปริมาณขยะครัวเรือน

ร้อยละของครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายมีขยะอินทรีย์ในครัวเรือนลดลง

0.00 50.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 219,220.00 0 0.00
??/??/???? กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย (ถังขยะปั้ยปุ๋ย) 0 4,970.00 -
??/??/???? กิจกรรมสนับสนุนปัจจัยการผลิตถังขยะปั้นปุ๋ยสำหรับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นครัวเรือนต้นแบบชุมชน และสนับสนุนปัจจัยการผลิตพืชผักปลอดภัย 0 98,250.00 -
??/??/???? กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย (ถังขยะเปียก) 0 16,500.00 -
??/??/???? กิจกรรมสนับสนุนปัจจัยการผลิตถังขยะเปียกสำหรับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นครัวเรือนต้นแบบชุมชน 0 99,500.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำองค์ความรู้ไปปฏิบัติในพื้นที่ของตนเอง เกิดการแปรรูปขยะอินทรีย์เป็นดินพร้อมปลูกใช้ปลูกพืชผักสวนครัว ช่วยลดแหล่งอาหารและลดการเพาะขยายพันธุ์ของสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค ช่วยตัดวงจรการระบาดของโรคระบาดในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์
2. ประชาชนมีองค์ความรู้ เรื่องการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือนด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีจนสามารถนำไปปฏิบัติ ในครัวเรือนของตนเองได้
3. ประชาชนสามารถผลิตพืชอาหารปลอดภัยที่ส่งผลให้สุขภาพดี ช่วยลดความเจ็บป่วยที่เกิดจากการบริโภคอาหารที่มีการปนเปื้อนจากสารตกค้างที่ใช้ในการป้องกันและกำจัดศัตรูพืช
4. มีต้นแบบในการจัดการขยะครัวเรือนในแต่ละชุมชน ที่จะสามารถขยายผลไปยังครัวเรือนอื่นๆ ในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์ได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ม.ค. 2566 09:38 น.