กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการสร้างความรอบรู้และพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง เขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2566

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสร้างความรอบรู้และพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง เขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ 66-L3312-2-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย
วันที่อนุมัติ 1 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 14,650.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางหนูจิน คงเหล่ , นางฉ้าย เหมือนศรี
พี่เลี้ยงโครงการ นางวาลัยพร ด้วงคง
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ปีที่ผ่านมา
13.00
2 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ปีที่ผ่านมา
49.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จำนวนผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ปีที่ผ่านมา 13 คน และจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ปีที่ผ่านมา 49 คน ตามลำดับ ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง คือ ขาดการออกกำลังกาย มีการรับประทานอาหารไม่เหมาะสมและไม่เพียงพอ แม้ประชาชนจะมีความรู้ แต่ยังไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง จากการสำรวจของกรมอนามัย พบว่า คนไทยมีเพียง 5 ล้านคนเท่านั้น ที่มีการออกกำลังกายเพียงพอที่จะช่วยป้องกันโรคได้ และจากการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยอายุมากกว่า 15 ปี เฉลี่ยการบริโภคผักและผลไม้ เท่ากับ 5.97 และ 4.56 วันต่อสัปดาห์ ตามลำดับ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยการปฏิบัติจริง 2 กระบวนการ ได้แก่
1. การออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆ ละอย่างน้อย 30 นาที
2. การรับประทานผักและผลไม้สด วันละครึ่งกิโลกรัม หรือรับประทานผักในปริมาณ ครึ่งหนึ่งของอาหารแต่ละมื้อ และลดการรับประทานอาหารไขมัน จะสามารถทำให้ประชาชนลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเรื้อรัง

อัตราร้อยละกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเรื้อรังหลังการอบรม

80.00 80.00
2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้

อัตราร้อยละกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้

50.00 50.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 14,650.00 2 14,650.00
1 - 31 มี.ค. 66 ขั้นเตรียมการ 0 0.00 -
20 เม.ย. 66 จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย การกินผักและไม้ จำนวน 50 คน 0 5,000.00 5,000.00
1 พ.ค. 66 - 20 ก.ย. 66 การติดตาม ประเมินการดำเนินกิจกรรม ปลูกผักสวนครัว และการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง ในกลุ่มเสี่ยง จำนวน 50 คน 0 0.00 -
8 ก.ย. 66 จัดเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากบุคคลต้นแบบในชุมชนด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 0 9,650.00 9,650.00
25 - 30 ก.ย. 66 สรุปผลการประเมินสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. มีชุมชนต้นแบบการจัดการสุขภาพชุมชนที่เข้มแข็งพึ่งตนเองทางสุขภาพได้
  2. อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลงมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 5.00 และความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลงร้อยละ 2.50
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ม.ค. 2566 10:54 น.