กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง


“ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุรายใหม่ และฟื้นฟูผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึงพิง (Care giver) ”

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายอาธร อุคคติ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุรายใหม่ และฟื้นฟูผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึงพิง (Care giver)

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2566-L6896-01-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุรายใหม่ และฟื้นฟูผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึงพิง (Care giver) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุรายใหม่ และฟื้นฟูผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึงพิง (Care giver)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุรายใหม่ และฟื้นฟูผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึงพิง (Care giver) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2566-L6896-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 414,102.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากรายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทยปี 2565.ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ หลังจากเมื่อสามปีก่อนนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่ประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี โดยประชากรผู้สูงอายุในปี 2565 นั้นมีมากถึง 12,116,199 คน คิดเป็น 18.3% ของประชากรทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 0.5% นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยพบว่าในปี 2565 ประเทศไทยเข้าสู่ “สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์”.โดยจะมีสัดส่วนประชากร อายุ 60 ปีขึ้นไป ในอัตราร้อยละ 20 ของจำนวนประชากรทั้งหมดและคาดว่าในปี 2576 จะเข้าสู่การเป็น“สังคมสูงอายุระดับสุดยอด” คือมีสัดส่วนประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปในอัตราร้อยละ 28 ของประชากรทั้งหมด จากข้อมูลกระทรวงสาธารณสุขที่ได้ดำเนินการคัดกรองเพื่อจำแนกกลุ่มผู้สูงอายุตามภาวะพึ่งพิงและประเมินความจำเป็นด้านการสนับสนุนบริการ และจัดบริการด้านสุขภาพและสังคม จำแนกเป็นกลุ่มติดสังคมประมาณ 5 ล้านคน และกลุ่มติดบ้านติดเตียง ประมาณ 1.3 ล้านคน ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องและครอบคลุมทั้งด้าน ร่างกาย จิตใจ สังคม จิตวิญญาณ ข้อมูลสถิติประชากรจากงานทะเบียนราษฎร์ เทศบาลนครตรัง ณ เดือนตุลาคม 2565 พบว่ามีประชากรในพื้นที่ทั้งหมด 55,520.คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับหนึ่ง ได้แก่ กลุ่มวัยผู้ใหญ่ ร้อยละ 50.72% อันดับที่สอง กลุ่มวัยผู้สูงอายุ ร้อยละ 20.59% อันดับที่สามกลุ่มวัยรุ่น ร้อยละ 11.21% ซึ่งขณะนี้เทศบาลนครตรังได้เข้าสู่การเป็น“สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์”เป็นที่เรียบร้อยแล้ว.และคาดการณ์ว่าอีก 10.ปีข้างหน้าจะมีผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นถึง ร้อยละ 14.09% ซึ่งเป็นพื้นที่เป้าหมายในการดำเนินการตามโครงการพัฒนาระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC)
เทศบาลนครตรังตระหนักและให้ความสำคัญกับการเตรียมความพร้อมรับมือและวางแนวทาง เพื่อรองรับที่ประเทศไทยและประชากรในพื้นที่เทศบาลนครตรังได้เข้าสู่.“สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์” จึงได้มีการจัดตั้งศูนย์บริการสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการ เทศบาลนครตรังขึ้น เพื่อดำเนินงานเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวม โดยมีนโยบายด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุทุกกลุ่ม ซึ่งนโยบายสำคัญคือ การทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่แข็งแรง ชะลอการเกิดโรคและความเจ็บป่วยจนต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิง และวางระบบการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงให้ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี ดูแลตนเองได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดี การจัดการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวจึงเป็นเรื่องสำคัญ ศูนย์บริการสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการ เทศบาลนครตรัง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ร่วมวางระบบการดูแลที่มีประสิทธิภาพ ยั่งยืน จัดเตรียมระบบการดูแลที่บ้าน โดยมีความร่วมมือจากโรงพยาบาลของภาครัฐ ชุมชนและครอบครัว ซึ่งการเตรียมระบบดูแลที่บ้าน จำเป็นต้องมีการสำรวจค้นหาและประเมินสุขภาพของผู้สูงอายุเพื่อจำแนกประเภทผู้สูงอายุ พร้อมทั้งเตรียมองค์ความรู้ให้กับผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) ซึงในพื้นที่เทศบาลนครตรัง มีผู้ผ่านการอบรม จำนวน 49 คน และยังไม่ครอบคลุมพื้นที่ทุกชุมชน บุคลากรดูแลให้การพยาบาลไม่ทั่วถึง และในปีงบประมาณ 2566 ได้มีการเพิ่มกลุ่มเป้าหมายในการดำเนินงานโดยให้ครอบคลุมทุกกลุ่มอายุและทุกสิทธิ ทำให้ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care.Giver).มีจำนวนไม่เพียงพอในการดำเนินงาน ศูนย์บริการสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการ เทศบาลนครตรัง จึงได้ประชุมคณะทำงานเพื่อหารือในการวางแผนการดำเนินงาน โดยมีมติให้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุรายใหม่ และฟื้นฟูผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึงพิง (Care giver) ตามหลักสูตรกรมอนามัย 70 ชั่วโมง และการฟื้นฟูผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) ตามหลักสูตรฟื้นฟู 18 ชั่วโมง (กำหนดผู้ดูแลผู้สูงอายุ 1 คน ดูแลผู้สูงอายุไม่เกิน 10 คน) เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพบรรลุตามวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องมีการจัดการระบบข้อมูลทางด้านสุขภาพของผู้สูงอายุและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง ในการเตรียมความพร้อมการดูแลผู้สูงอายุ ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุรายใหม่ (Care Giver) หลักสูตร 70 ชั่วโมง มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ
  2. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่ได้รับการฟื้นฟู (Care Giver) หลักสูตร 18 ชั่วโมง มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดฟื้นฟูผุ้ดูแลผู้สูงอายุ Gare Giver หลักสูตร 18 ชั่วโมง
  2. จัดประชุมทีมคณะทำงานการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
  3. จัดอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุรายใหม่ Care Giver หลักสูตร 70 ชั่วโมง (จำนวน 15 คน)
  4. จัดอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุรายใหม่ Care Giver หลักสูตร 70 ชั่วโมง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดระบบบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นมีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  2. บุคลากรในการดูแลระยะยาวมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลผู้สูงอายุและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิงแบบ  องค์รวม และสามารถให้การดูแลอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดประชุมทีมคณะทำงานการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว

วันที่ 1 ธันวาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมทีมคณะทำงานการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรูปแบบแนวทางการประสานงานและให้ความช่วยเหลือผุ้ป่วยที่มีหัตถการต่างๆ ของคณะทำงาน

 

8 0

2. จัดอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุรายใหม่ Care Giver หลักสูตร 70 ชั่วโมง

วันที่ 1 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care Give) หลักสูตร จำนวน 70 ชั้วโมง โดยแบ่งการฝึกอบรมเป็นภาคทฤษฎีและฝึกปฎิบัติในห้องเรียน ในชุมชนและในสถานบริการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จากการดำเนินกิจกรรมพบว่า ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care Give) หลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุขั้นกลาง จำนวน 70 ชั้วโมง มีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในการดูแลผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100
  • ผลจากการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมสำหรับรูปแบบการจัดอบรมของโครงการ โดยการคำนวณค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจในแต่ละด้าน พบว่าค่าเฉลี่ยโดยภาพรวมของโครงการอยู่ที่ 4.81 อยู่ในระดับมากที่สุด

 

18 0

3. จัดฟื้นฟูผุ้ดูแลผู้สูงอายุ Gare Giver หลักสูตร 18 ชั่วโมง

วันที่ 1 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอบรมฟื้นฟูผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Cara Giver) หลักสูตร 18 ชั่วโมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-จากการดำเนินกิจกรรมพบว่าผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(Care Giver) หลักสูตร 18 ชั่วโมง มีความรู้ความเข้าใจและมีทักาาในการดูแลผู้ศุงอายุเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 100
-จากการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมของโครงการโดยจากการคำนวณจากค่าเฉลี่ยความพึงพอใจในแต่ละด้าน พบว่า ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.45 อยู่ในระดับมาก

 

23 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุรายใหม่ (Care Giver) หลักสูตร 70 ชั่วโมง มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลผู้สูงอายุรายใหม่ (Care Giver) มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ ร้อยละ 80

 

2 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่ได้รับการฟื้นฟู (Care Giver) หลักสูตร 18 ชั่วโมง มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่ได้รับการฟื้นฟู (Care Giver) ที่ได้รับการฟื้นฟู มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ ร้อยละ 90

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุรายใหม่ (Care Giver) หลักสูตร 70 ชั่วโมง มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ (2) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่ได้รับการฟื้นฟู (Care Giver) หลักสูตร 18 ชั่วโมง มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดฟื้นฟูผุ้ดูแลผู้สูงอายุ Gare Giver หลักสูตร 18 ชั่วโมง (2) จัดประชุมทีมคณะทำงานการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (3) จัดอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุรายใหม่ Care Giver หลักสูตร 70 ชั่วโมง (จำนวน 15 คน) (4) จัดอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุรายใหม่ Care Giver หลักสูตร 70 ชั่วโมง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุรายใหม่ และฟื้นฟูผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึงพิง (Care giver)

รหัสโครงการ 2566-L6896-01-13 ระยะเวลาโครงการ 1 ธันวาคม 2565 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุรายใหม่ และฟื้นฟูผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึงพิง (Care giver) จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2566-L6896-01-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาธร อุคคติ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด