กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองใหญ่


“ โครงการรณรงค์คัดกรองโรคเรื้อรัง เบาหวานและความดันโลหิตสูงนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ”

ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสุวิทย์ ทองกัญญา

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์คัดกรองโรคเรื้อรัง เบาหวานและความดันโลหิตสูงนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง

ที่อยู่ ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-l3327-01-05 เลขที่ข้อตกลง 011/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์คัดกรองโรคเรื้อรัง เบาหวานและความดันโลหิตสูงนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์คัดกรองโรคเรื้อรัง เบาหวานและความดันโลหิตสูงนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง



บทคัดย่อ

หลายคนอาจไม่คาดคิดว่าพฤติกรรมการใช้ชีวิตของคนเราอย่างไม่ระมัดระวัง เมื่อสะสมนานวันเข้าส่งผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบบไม่รู้ตัวได้ มาทำความรู้จักกันว่าโรคอะไรบ้างโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือเรียกชื่อภาษาอังกฤษสั้น ๆว่า โรค NCDs เป็นโรคที่ไม่ได้เกิดขึ้นจากการ ติดเชื้อโรค และไม่ได้ติดต่อจากคนสู่คน โดยการสัมผัสหรือการหายใจแต่เป็นโรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่เหมาะสมของเรากลุ่มโรค NCDs นี้ ประกอบด้วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคอ้วน ลงพุง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคถุงลมโป่งพอง และโรคมะเร็ง เป็นต้น โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ โรค NCDs เป็นโรคที่สามารถป้องกันการเกิดโรคได้ ด้วยการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน จนเกิดความรอบรู้ด้านสุขภาพ ที่จะสามารถจัดการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพได้ด้วยตนเอง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (health literacy) จัดเป็นความรู้ความสามารถของบุคคลในการที่จะเข้าถึงข้อมูลข่าวสารทางด้านสุขภาพ เสาะแสวงหา สืบค้นและทำความเข้าใจ แปลความหมายข้อมูลสุขภาพที่ได้รับหรือเข้าถึงได้ จนเกิดแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกและใช้ข้อมูลข่าวสารเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อได้นั้น หากประชาชนกลุ่มนี้ไม่ได้รับการจัดการพฤติกรรมสุขภาพจะส่งผลให้ประชากรกลุ่มมีโรคเรื้อรังตามมา คณะทำงานจึงมีมติร่วมกันว่าควรจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ปี 256๖ เพื่อส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการกับการออกกำลังกาย และอารมณ์ ในกลุ่มเสี่ยง ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญ การส่งเสริมสุขภาพสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ ในการดูแลสุขภาพ และทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อให้ประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะบ้า มีสุขภาพดี ลดอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรัง มีวัตุประสงค์ เพื่อคัดกรอง และกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ มีความตระหนักและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงได้           วิธีการดำเนินงาน คัดกรองความดัน เจาะเลือดคัดกรองระดับน้ำตาลปลายนิ้ว ตรวจวัด ค่า BMI ภาวะซึมเศร้า ประชาชนในหมู่ 4 บ้านโหล๊ะบ้า ที่มีอายุ 35 ขึ้นไปและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง รายละเอียดกิจกรรม สำรวจข้อมูลประชากรกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขใน รพ.สต.โหล๊ะบ้าร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านทางที่ประชุมในหมู่บ้าน และอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ จัดอบรมให้ความรู้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย พร้อมให้บริการตรวจคัดกรองภาวะความดันโลหิตสูงและตรวจเบาหวานโดยการเจาะเลือด พร้อมแปรผลการตรวจเลือด และรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรค รายละเอียดกิจกรรมรับสมัครสมาชิกที่มีรอบเอว BMI เกินหรือประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่สนใจเข้าร่วมโครงการประเมินความรู้ ซักประวัติ ประเมินภาวะสุขภาพ กำหนดเป้าหมายในการเข้าร่วมโครงการ โดยรอบเอวน้ำหนักและค่า BMI ต้องลดลงร้อยละ 10ของก่อนเข้าร่วมโครงการ โดยบันทึกข้อมูลลงในสมุดปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประจำตัวของผู้เข้าร่วม ดำเนินงานตามแผนงานโครงการเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ตามโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยใช้กระบวนการกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง จำนวน 50 คน         ผลการดำเนินกิจกรรม ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรค เบาหวาน จำนวน 380 คน คิดเป็น 95 %ของประชาชกรกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400 คน แบ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 114 คน กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 123 คน กลุ่มสงสัยปวยโรคความดันโรคหิตสูง 73 คน กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน 9 คน ผู้ป่วยรายใหม่เบาหวาน 1 คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ 1 คน ซึ่งจำนวนผู้ปาวยเบาหวานลดลงจากปี 2565 จาก 7 คน 1 คน และจากการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 114 คน กลุ่มเสี่ยงเบาหวานจำนวน 123 คน ได้รับสมัครเข้าปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 50 คน จากการประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ ไม่มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่ คิด เป็น 100 %

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 2. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรค
  2. 1. จัดคัดกรองความดัน เจาะเลือดคัดกรองระดับน้ำตาลปลายนิ้ว ตรวจวัด ค่า BMI ภาวะซึมเศร้า ประชาชนในหมู่ 4 บ้านโหล๊ะบ้า ที่มีอายุ 35 ขึ้นไปและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชนได้รับการตัดกรองโรคเรื้อรัง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ และมีความตระหนัก และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 2. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรค

วันที่ 4 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ รับสมัครสมาชิกที่มีรอบเอว BMI เกินหรือประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่สนใจเข้าร่วมโครงการประเมินความรู้ ซักประวัติ ประเมินภาวะสุขภาพ กำหนดเป้าหมายในการเข้าร่วมโครงการ โดยรอบเอวน้ำหนักและค่า BMI ต้องลดลงร้อยละ 10ของก่อนเข้าร่วมโครงการ โดยบันทึกข้อมูลลงในสมุดปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประจำตัวของผู้เข้าร่วม 2.1ดำเนินงานตามแผนงานโครงการเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ตามโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยใช้กระบวนการกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2.2 จัดให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง จำนวน 50 คน รายละเอียด ค่าเครื่องดื่มและอาหารว่าง จำนวน2 มื้อ มื้อละ 25 บาทจำนวน 50 คน เป็นเงิน2,500 บาท ค่าอาหารกลางวันมื้อละ70 บาท จำนวน 50 คน เป็นเงิน3,500บาท ค่าอุปกรณ์สาธิตประกอบการอบรมเช่น อาหารตัวอย่างเป็นเงิน1,000บาท ค่าวิทยากรให้ความรู้จำนวน 5 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาทจำนวน 1 คน เป็นเงิน3,000บาท 2.3ประเมินติดตามพฤติกรรม ประเมินภาวะสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว ทุกเดือนติดต่อกัน 3 เดือน ค่าเครื่องดื่มและอาหารว่างมื้อละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 50 คน จำนวน 3 ครั้ง เป็นเงิน 3,750 บาท 2.4คัดเลือกบุคคลตัวอย่างที่มีการลดลงของ น้ำหนัก รอบเอว BMI ต่อเนื่องอย่างน้อย 3 เดือนโดยกระบวนการของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2.5 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน พร้อมข้อเสนอแนะทางแก้ไขปัญหา ระยะเวลาดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566 ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 114 คน กลุ่มเสี่ยงเบาหวานจำนวน 123 คน ได้รับสมัครเข้าปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 50 คน  จากการประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ ไม่มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่ คิด เป็น 100 %
งบประมาณ ค่าเครื่องดื่มและอาหารว่าง จำนวน2 มื้อ มื้อละ 25 บาทจำนวน 50 คน เป็นเงิน2,500 บาท ค่าอาหารกลางวันมื้อละ70 บาท จำนวน 50 คน เป็นเงิน3,500บาท ค่าอุปกรณ์สาธิตประกอบการอบรมเช่น อาหารตัวอย่างเป็นเงิน1,000บาท ค่าวิทยากรให้ความรู้จำนวน 5 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาทจำนวน 1 คน เป็นเงิน3,000บาท 2.3ประเมินติดตามพฤติกรรม ประเมินภาวะสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว ทุกเดือนติดต่อกัน 3 เดือน ค่าเครื่องดื่มและอาหารว่างมื้อละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 50 คน จำนวน 3 ครั้ง เป็นเงิน 3,750 บาท รวมใช้งบประมาณเบิกใช้จริง 13,750 บาท คิดเป็น 100 %

 

0 0

2. 1. จัดคัดกรองความดัน เจาะเลือดคัดกรองระดับน้ำตาลปลายนิ้ว ตรวจวัด ค่า BMI ภาวะซึมเศร้า ประชาชนในหมู่ 4 บ้านโหล๊ะบ้า ที่มีอายุ 35 ขึ้นไปและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง

วันที่ 22 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ 1.สำรวจข้อมูลประชากรกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขใน รพ.สต.โหล๊ะบ้าร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ 2.ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านทางที่ประชุมในหมู่บ้าน และอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ 3.จัดอบรมให้ความรู้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย พร้อมให้บริการตรวจคัดกรองภาวะความดันโลหิตสูงและตรวจเบาหวานโดยการเจาะเลือด พร้อมแปรผลการตรวจเลือด - ค่าอาหารเครื่องดื่มและอาหารว่าง มื้อละ 25 บาท จำนวน 400 คน เป็นเงิน 10,000 บาท - ค่าเครื่องวัดความดันโลหิต จำนวน 1 เครื่อง ราคา 5,000 บาท 4.ดำเนินการตามระบบส่งต่อเพื่อยืนยันผลการตรวจคัดกรองเบื้องต้นและรับการรักษาในกรณีที่พบผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรค เบาหวาน จำนวน 380 คน คิดเป็น 95 %ของประชาชกรกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400 คน แบ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 114 คน กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 123 คน กลุ่มสงสัยปวยโรคความดันโรคหิตสูง 73 คน กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน  9  คน  ผู้ป่วยรายใหม่เบาหวาน 1 คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ 1 คน ซึ่งจำนวนผู้ปาวยเบาหวานลดลงจากปี 2565 จาก 7 คน >>>> 1 คน
งบประมาณ
- ค่าอาหารเครื่องดื่มและอาหารว่าง มื้อละ 25 บาท จำนวน 400 คน เป็นเงิน 10,000 บาท - ค่าเครื่องวัดความดันโลหิต จำนวน 1 เครื่อง ราคา 5,000 บาท งบประมาณที่เบิกใช้จริงเป็นเงิน 15,000 บาท คิดเป็น 100 %

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ดำเนินการตามระบบส่งต่อเพื่อยืนยันผลการตรวจคัดกรองเบื้องต้นและรับการรักษาในกรณีที่พบผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ผลลัพท์: ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรค เบาหวาน จำนวน 380 คน คิดเป็น 95 %ของประชาชกรกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400 คน แบ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 114 คน กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 123 คน กลุ่มสงสัยปวยโรคความดันโรคหิตสูง 73 คน กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน 9 คน ผู้ป่วยรายใหม่เบาหวาน 1 คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ 1 คน ซึ่งจำนวนผู้ปาวยเบาหวานลดลงจากปี 2565 จาก 7 คน >>>> 1 คน งบประมาณ - ค่าอาหารเครื่องดื่มและอาหารว่าง มื้อละ 25 บาท จำนวน 400 คน เป็นเงิน 10,000 บาท - ค่าเครื่องวัดความดันโลหิต จำนวน 1 เครื่อง ราคา 5,000 บาท งบประมาณที่เบิกใช้จริงเป็นเงิน 15,000 บาท คิดเป็น 100 %

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

หลายคนอาจไม่คาดคิดว่าพฤติกรรมการใช้ชีวิตของคนเราอย่างไม่ระมัดระวัง เมื่อสะสมนานวันเข้าส่งผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบบไม่รู้ตัวได้ มาทำความรู้จักกันว่าโรคอะไรบ้างโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือเรียกชื่อภาษาอังกฤษสั้น ๆว่า โรค NCDs เป็นโรคที่ไม่ได้เกิดขึ้นจากการ ติดเชื้อโรค และไม่ได้ติดต่อจากคนสู่คน โดยการสัมผัสหรือการหายใจแต่เป็นโรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่เหมาะสมของเรากลุ่มโรค NCDs นี้ ประกอบด้วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคอ้วน ลงพุง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคถุงลมโป่งพอง และโรคมะเร็ง เป็นต้น โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ โรค NCDs เป็นโรคที่สามารถป้องกันการเกิดโรคได้ ด้วยการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน จนเกิดความรอบรู้ด้านสุขภาพ ที่จะสามารถจัดการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพได้ด้วยตนเอง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (health literacy) จัดเป็นความรู้ความสามารถของบุคคลในการที่จะเข้าถึงข้อมูลข่าวสารทางด้านสุขภาพ เสาะแสวงหา สืบค้นและทำความเข้าใจ แปลความหมายข้อมูลสุขภาพที่ได้รับหรือเข้าถึงได้ จนเกิดแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกและใช้ข้อมูลข่าวสารเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อได้นั้น หากประชาชนกลุ่มนี้ไม่ได้รับการจัดการพฤติกรรมสุขภาพจะส่งผลให้ประชากรกลุ่มมีโรคเรื้อรังตามมา คณะทำงานจึงมีมติร่วมกันว่าควรจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ปี 256๖ เพื่อส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการกับการออกกำลังกาย และอารมณ์ ในกลุ่มเสี่ยง ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญ การส่งเสริมสุขภาพสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ ในการดูแลสุขภาพ และทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อให้ประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะบ้า มีสุขภาพดี ลดอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรัง มีวัตุประสงค์ เพื่อคัดกรอง และกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ มีความตระหนักและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงได้           วิธีการดำเนินงาน คัดกรองความดัน เจาะเลือดคัดกรองระดับน้ำตาลปลายนิ้ว ตรวจวัด ค่า BMI ภาวะซึมเศร้า ประชาชนในหมู่ 4 บ้านโหล๊ะบ้า ที่มีอายุ 35 ขึ้นไปและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง รายละเอียดกิจกรรม สำรวจข้อมูลประชากรกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขใน รพ.สต.โหล๊ะบ้าร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านทางที่ประชุมในหมู่บ้าน และอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ จัดอบรมให้ความรู้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย พร้อมให้บริการตรวจคัดกรองภาวะความดันโลหิตสูงและตรวจเบาหวานโดยการเจาะเลือด พร้อมแปรผลการตรวจเลือด และรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรค รายละเอียดกิจกรรมรับสมัครสมาชิกที่มีรอบเอว BMI เกินหรือประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่สนใจเข้าร่วมโครงการประเมินความรู้ ซักประวัติ ประเมินภาวะสุขภาพ กำหนดเป้าหมายในการเข้าร่วมโครงการ โดยรอบเอวน้ำหนักและค่า BMI ต้องลดลงร้อยละ 10ของก่อนเข้าร่วมโครงการ โดยบันทึกข้อมูลลงในสมุดปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประจำตัวของผู้เข้าร่วม ดำเนินงานตามแผนงานโครงการเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ตามโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยใช้กระบวนการกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง จำนวน 50 คน         ผลการดำเนินกิจกรรม ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรค เบาหวาน จำนวน 380 คน คิดเป็น 95 %ของประชาชกรกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400 คน แบ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 114 คน กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 123 คน กลุ่มสงสัยปวยโรคความดันโรคหิตสูง 73 คน กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน 9 คน ผู้ป่วยรายใหม่เบาหวาน 1 คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ 1 คน ซึ่งจำนวนผู้ปาวยเบาหวานลดลงจากปี 2565 จาก 7 คน 1 คน และจากการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 114 คน กลุ่มเสี่ยงเบาหวานจำนวน 123 คน ได้รับสมัครเข้าปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 50 คน จากการประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ ไม่มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่ คิด เป็น 100 %

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์คัดกรองโรคเรื้อรัง เบาหวานและความดันโลหิตสูงนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง

รหัสโครงการ 66-l3327-01-05 รหัสสัญญา 011/2566 ระยะเวลาโครงการ 4 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการรณรงค์คัดกรองโรคเรื้อรัง เบาหวานและความดันโลหิตสูงนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-l3327-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุวิทย์ ทองกัญญา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด