กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละ


“ โครงการปรับเปลี่ยนสุขภาพ ปี 2566 ”

ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาววิรดา สาแม็ง

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนสุขภาพ ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L039-02-07 เลขที่ข้อตกลง 007/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนสุขภาพ ปี 2566 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนสุขภาพ ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนสุขภาพ ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L039-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 77,788.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคเรื้อรังในปัจจุบัน เช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็งรวมทั้งปัญหาสุขภาพจิตเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งบางโรคเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นและมีแนวโน้มการเกิดโรคเพิ่มและมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นทุกปี ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของประชาชน เช่น การสูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์มากเกินไป การบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสัดส่วนและไม่เหมาะสมทางโภชนาการ ขาดการออกกำลังกายและมีความเครียดจาก ปัญหาครอบครัวและสังคม จากสถิติการเจ็บป่วยด้วยโรคจากพฤติกรรม (เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง) ของจังหวัดปัตตานี พบว่า อัตราป่วยเพิ่มสูงขึ้นในทุกๆ ปี ซึ่งสอดคล้องกับระบาดวิทยาของทั่วประเทศที่มีอัตราความชุกอยู่ที่ร้อยละ 2.5 รวมไปถึงทุกประเทศทั่วโลกที่พบอัตราการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สำหรับอัตราความชุกของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงพบว่า มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งอาจเป็นเพราะการดำเนินชีวิตที่ขาดความสมดุล เช่น สัดส่วนของอาหารที่รับประทานเปลี่ยนแปลง โดยอาจรับประทานอาหารประเภทเค็มจัด หรือหวานจัด และมีปริมาณไขมันมากเกินไป มีการออกกำลังกายลดลง มีภาวะเครียดจากสาเหตุต่างๆ การนอนหลับพักผ่อนไม่เป็นเวลา รวมทั้งปัจจัยทางด้านพันธุกรรม ซึ่งสาเหตุดังที่กล่าวมาทำให้ส่งผลต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จากผลการดำเนินงานรักษาพยาบาลและคัดกรองค้นหาผู้ป่วยเบาหวานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุลากง ได้ให้บริการตรวจคัดกรอง เพื่อค้นหาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเบื้องต้น พบว่าประชากรทั้ง 4 หมู่บ้าน มีผู้ป่วยรายใหม่และผู้มีภาวะเสี่ยงสูงเป็นจำนวนมาก และปัจจุบันแม้ว่าการรักษาโรคเบาหวานและผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจะดีขึ้น แต่ระบบการติดตามดูแลฟื้นฟู การให้ความรู้ เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน และการส่งเสริมสุขภาพทั้งทางกาย จิต และสังคม ภายหลังการรักษา ก็ยังมีระบบที่ไม่ดีเพียงพอ และไม่ครอบคลุมมากพอ
ดังนั้น ทีมสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ร่วมกับชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน ตำบลปุลากง ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ “ปรับเปลี่ยนสุขภาพ ปี 2566” ขึ้น เพื่อให้ประชาชนทั่วไป กลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มผู้ป่วย ได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และสามารถดูแลสุขภาพตนเอง เลือกรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี ลดการเกิดโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน ส่วนในรายที่สงสัยป่วยใหม่ได้รับการส่งต่อ เพื่อการรักษาอย่างต่อเนื่องและช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. กลุ่มผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนและความพิการของโรค
  2. ข้อที่ 2 เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังของประชาชนกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบ
  3. ข้อที่ 3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง เหมาะสม ลดหวาน มัน เค็ม ลดการเกิดโรคจากการบริโภคอาหาร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรม “การปรับตัวกับเพื่อนใหม่” (โรคเบาหวาน ความดัน และผองเพื่อน) ในกลุ่มป่วยทั้งรายใหม่และรายเก่า
  2. 2. กิจกรรมเรียนรู้ร่วมกันด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ “ปรับวิถี ชีวีเปลี่ยน”ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
  3. 3. กิจกรรมเรียนรู้ “แม่บ้านยุคใหม่ใส่ใจคนรอบข้าง”
  4. กิจกรรมที่ 1. กิจกรรมประชุมชี้แจงคณะทำงานและอาสาสมัครสาธารณสุข เกี่ยวกับกิจกรรมที่ดำเนินขึ้นในโครงการ “ปรับเปลี่ยนสุขภาพ ปี 2566” และฟื้นฟูความรู้การคัดกรองโรคเรื้อรัง (ปฏิบัติการ)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนทั้งกลุ่มทั่วไป กลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรค และกลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง มีความรู้ ความเข้าใจ มีส่วนร่วมในการส่งเสริมป้องกันและดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวที่เหมาะสม มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง รวมถึงสามารถลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังของประชาชนกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบ และป้องกันภาวะแทรกซ้อน/ความพิการของโรคในกลุ่มผู้ป่วย ไม่ให้ลุกลาม หรือรุนแรงมากกว่าเดิม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 2 “การปรับตัวกับเพื่อนใหม่” (โรคเบาหวาน ความดัน และผองเพื่อน) ในกลุ่มป่วยทั้งรายใหม่และรายเก่า

วันที่ 24 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ให้ความรู้เรื่อง โรค/การดูแลตัวเอง/ การปรับตัวกับเพื่อนใหม่” (โรคเบาหวาน ความดัน และผองเพื่อน) ในกลุ่มป่วยทั้งรายใหม่และรายเก่า โดยการบรรยายโดยเภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ และวิทยกรสอนเรื่องอาหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

2. กิจกรรมที่ 1. กิจกรรมประชุมชี้แจงคณะทำงานและอาสาสมัครสาธารณสุข เกี่ยวกับกิจกรรมที่ดำเนินขึ้นในโครงการ “ปรับเปลี่ยนสุขภาพ ปี 2566” และฟื้นฟูความรู้การคัดกรองโรคเรื้อรัง (ปฏิบัติการ)

วันที่ 26 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดประชุมชี้แจงคณะทำงานและอาสาสมัครสาธารณสุข เกี่ยวกับกิจกรรมที่ดำเนินขึ้นในโครงการ “ปรับเปลี่ยนสุขภาพ ปี 2566”
  • จัดสอนเนื้อหาการคัดกรอง/ฟื้นฟูความรู้การคัดกรองโรคเรื้อรัง
  • จัด demonstrtion สาธิตย้อนกลับ เพื่อประเมินทักษะ/ความพร้อมของ อสม. แต่ละคน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • อสม. ทุกคนสามารถคัดกรอง เจาะเลือด/ วัดความดันได้ถูกต้อง

 

0 0

3. กิจกรรมที่ 3 เรียนรู้ร่วมกันด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ “ปรับวิถี ชีวีเปลี่ยน”ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง

วันที่ 26 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดกิจกรรมเรียนรู้ร่วมกันด้วยการปรับ เปลี่ยนพฤติกรรม “ปรับวิถี ชีวีเปลี่ยน” ในกลุ่มเสี่ยงโดยการอบรมให้ความรู้ เรื่องโรคเรื้อรัง การคุม/ปรับอาหารเพื่อสุขภาพ (สาธิตการปรุงเมนูอาหารง่ายๆ แนว heathy) การออกำลังกาย เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
  • จัดกรรมติดตามตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (หมอ1) โดยการนัดตรวจวัดความดันโลหิตสูงและเจาะ ระดับน้ำตาลในเลือดทุก 3 เดือน และ 6 เดือน ในกลุ่มเสี่ยงทั้ง ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • กิจกรรมการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น มีความสนใจและให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
  • ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีระดับความดันโลหิต <140/90 มากกว่าร้อยละ 50 (ความดันคุมได้) ผลการดำเนินกิจกรรม พบว่า ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถคุมความดันได้ (BP=<140/90) = 33.08% (43/130)
  • ผู้ป่วยโรคเบาหวาน สามารถคุมระดับน้ำตาลในเลือด (HbA1C <7) > ร้อยละ 10 (เบาหวานคุมได้) ผลการดำเนินกิจกรรม พบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถคุมน้ำตาลได้ 21.28 (10/47)
  • เพื่อลดโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อนและความพิการ <ร้อยละ 10 = 0% (ไม่พบผู้ป่วยเกิดภาวะแทรกซ้อน)
  • อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ < ร้อยละ 10 จากการดำเนินงานพบว่า ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จากกลุ่ม Pre-DM (ภาวะก่อนเบาหวาน) ปีที่ผ่านมา = 2.38% (ผู้ป่วยรายใหม่ 1 ราย/ กลุ่ม Pre-DM (ภาวะก่อนเบาหวาน) ในพื้นที่รับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำ 42 ราย)
  • อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ <ร้อยละ 20 จากการดำเนินงานพบว่า ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ = 6% (ผู้ป่วยรายใหม่ 3 ราย/ จากกลุ่มสงสัยป่วยที่ได้รับการตรวจติดตาม 50 ราย)
  • กลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้รับการติดตาม >ร้อยละ 90 จากการดำเนินงานพบว่า ร้อยละของประชากรกลุ่มPre-DM (ภาวะก่อนเบาหวาน) ในพื้นที่รับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการติดตามตรวจน้ำตาลซ้ำ=90.48%
  • กลุ่มเสี่ยงความดันได้รับการติดตามและวัดความดันที่บ้าน > ร้อยละ 90 จากการดำเนินงาน พบว่า กลุ่มเสี่ยงความดันได้รับการติดตามและวัดความดันที่บ้าน = 95%

 

0 0

4. กิจกรรมที่ 4 เรียนรู้ “แม่บ้านยุคใหม่ใส่ใจคนรอบข้าง”

วันที่ 29 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • กิจกรรมเรียนรู้ “แม่บ้านยุคใหม่ใส่ใจคนรอบข้าง” โดยการเรียนรู้ ทำความเข้าใจเรื่องโรคเรื้องต่างๆ การดูแลเรื่องอาหารสำหรับคนป่วย และอาหารสาย healthy รวมถึงสาธิตการปรุงอาหาร เมนูตัวอย่าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • กลุ่มเป้าหมายให้ความสนใจ และให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 กลุ่มผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนและความพิการของโรค
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีระดับความดันโลหิต <140/90 มากกว่าร้อยละ 50 (ความดันคุมได้) 2. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน สามารถคุมระดับน้ำตาลในเลือด (HbA1C <7) > ร้อยละ 10 (เบาหวานคุมได้) 3. เพื่อลดโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อนและความพิการ <ร้อยละ 10
5.00 5.00 0.00
  1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีระดับความดันโลหิต
2 ข้อที่ 2 เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังของประชาชนกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : 1. อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ < ร้อยละ 10 2. อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ <ร้อยละ 20 3. กลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้รับการติดตาม >ร้อยละ 90 4. กลุ่มเสี่ยงความดันได้รับการติดตามและวัดความดันที่บ้าน > ร้อยละ 90
5.00 5.00
  1. อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ < ร้อยละ 10 จากการดำเนินงานพบว่า ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จากกลุ่ม Pre-DM (ภาวะก่อนเบาหวาน) ปีที่ผ่านมา = 2.38% (ผู้ป่วยรายใหม่ 1 ราย/ กลุ่ม Pre-DM (ภาวะก่อนเบาหวาน) ในพื้นที่รับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำ 42 ราย)
  2. อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ร้อยละ 90 จากการดำเนินงานพบว่า ร้อยละของประชากรกลุ่มPre-DM (ภาวะก่อนเบาหวาน) ในพื้นที่รับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการติดตามตรวจน้ำตาลซ้ำ=90.48%
  3. กลุ่มเสี่ยงความดันได้รับการติดตามและวัดความดันที่บ้าน > ร้อยละ 90 จากการดำเนินงาน พบว่า กลุ่มเสี่ยงความดันได้รับการติดตามและวัดความดันที่บ้าน = 95%
3 ข้อที่ 3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง เหมาะสม ลดหวาน มัน เค็ม ลดการเกิดโรคจากการบริโภคอาหาร
ตัวชี้วัด : - ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการเลือกบริโภคอาหารดีขึ้น >ร้อยละ 80
50.00 80.00 80.00

ประชาชนมีความรุ้เพิ่มขึ้น ถาม-ตอบได้ถูกต้อง

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 45
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กลุ่มผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนและความพิการของโรค (2) ข้อที่ 2 เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังของประชาชนกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบ (3) ข้อที่ 3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง เหมาะสม ลดหวาน มัน เค็ม ลดการเกิดโรคจากการบริโภคอาหาร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรม “การปรับตัวกับเพื่อนใหม่” (โรคเบาหวาน ความดัน และผองเพื่อน) ในกลุ่มป่วยทั้งรายใหม่และรายเก่า (2) 2. กิจกรรมเรียนรู้ร่วมกันด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ “ปรับวิถี ชีวีเปลี่ยน”ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง (3) 3. กิจกรรมเรียนรู้ “แม่บ้านยุคใหม่ใส่ใจคนรอบข้าง” (4) กิจกรรมที่ 1. กิจกรรมประชุมชี้แจงคณะทำงานและอาสาสมัครสาธารณสุข เกี่ยวกับกิจกรรมที่ดำเนินขึ้นในโครงการ “ปรับเปลี่ยนสุขภาพ ปี 2566” และฟื้นฟูความรู้การคัดกรองโรคเรื้อรัง (ปฏิบัติการ)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนสุขภาพ ปี 2566

รหัสโครงการ 66-L039-02-07 รหัสสัญญา 007/2566 ระยะเวลาโครงการ 22 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

จัดการคนไข้รายบุคคลให้เสร้จ (one stop service) ในคลีนิค NCD

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ประชาชนมีความรู้เรื่องสุขภาพมากขึ้น สนใจอาหารเพื่อสุขภาพ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการปรับเปลี่ยนสุขภาพ ปี 2566 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L039-02-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววิรดา สาแม็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด