กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง


“ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง บ่อทอง ใส่ใจ ลดภัยแทรกซ้อน ปี 2566 ”

ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุทธิมา พิชัยวงศ์ธรรมา

ชื่อโครงการ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง บ่อทอง ใส่ใจ ลดภัยแทรกซ้อน ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L7012-1-06 เลขที่ข้อตกลง 07/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง บ่อทอง ใส่ใจ ลดภัยแทรกซ้อน ปี 2566 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง บ่อทอง ใส่ใจ ลดภัยแทรกซ้อน ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง บ่อทอง ใส่ใจ ลดภัยแทรกซ้อน ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L7012-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการเหตุผล
    1.1.ด้วยสถานการณ์ปัจจุบัน กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย มีอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรอายุ ๓๐-๖๙ ปีจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่สำคัญ ประกอบด้วย โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคทางเดินหายใจอุดกั้น มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปี ๒๕๕๗ และมีแนวโน้มคงที่ในปี ๒๕๖5 และโดยเฉพาะโรคแทรกซ้อนทางหลอดเลือดสมอง มีอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรสูงสุดเท่ากับ ๔๔.๓ รายต่อประชากรแสนคน โดยเฉพาะในเพศชายสูงกว่าเพศหญิง 1.2 สภาพปัญหา : โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อทอง มีโรงพยาบาลหนองจิกเป็นแม่ข่าย      เป็น รพ.สต.ระดับกลาง รับผิดชอบ ๕ หมู่บ้าน ประชากร ๗,๘๒๓ คน ลักษณะเป็นชุมชนกึ่งเมือง การคมนาคมสะดวก อาชีพหลักส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้าง รองลงมาทำการเกษตรทำนาทำสวน และค้าขาย ประชาชนสามารถเข้าถึงความสะดวกสบายในการจับจ่าย ซื้อของ ตลาด/ร้านค้า มีสินค้าหาซื้อได้ง่าย ตลาดในพื้นที่ตำบลมีเกือบทุกวัน รวมทั้งมีร้านสะดวกซื้อ เซเว่น ๒ แห่ง มินิบิ๊กซี ๑ แห่ง มินิโลตัส 1 แห่ง สามารถเข้าถึงสินค้าและบริการ โดยเฉพาะอาหารได้ง่ายและรวดเร็ว ประชาชนยังไม่มีความตระหนัก หรือมีความรู้ในการเลือก ในการอุปโภค บริโภค รวมทั้งพฤติกรรมสุขภาพในการดูแลตนเอง ขาดการออกกำลังกาย การใช้ชีวิตประจำวันที่มีแต่ความเร่งรีบ ความเครียด การดื่มน้ำหวานมากเกินความจำเป็น จะเห็นได้ว่า ในความสะดวกของการเข้าถึงสินค้าและบริการ อุบัติการณ์การเกิดโรค  ไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยเฉพาะโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ยังคงมีเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ่อทอง  มีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่เพิ่มขึ้นทุกปี ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๖3-๒๕๖6 จำนวน ๑๕,๔ และ๓ราย ตามลำดับ(จากข้อมูล HDC) ส่วนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ตั้งแต่ปี ๒๕๖3-๒๕๖6 จำนวน ๑๒,๕,และ ๒ ราย ตามลำดับ (ข้อมูลHDC) และผลตัวชี้วัดร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมได้ (มากกว่าร้อยละ ๔๐) ปี ๒๕๖3 –๒๕๖6 ได้ ๙.๓๓% , ๑๔.๕๗ %และ ๑๔.๗๖ %ตามลำดับ(ข้อมูล HDC) ผลตัวชี้วัดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ (มากกว่าร้อยละ ๕๐) ปี ๒๕๖3-๒๕๖๓ ได้ ๒๑.๐๕ % , ๕๕.๗๖ % และ๕๔.๒๗%  ตามลำดับ (ข้อมูล HDC)
      จากการวิเคราะห์ข้อมูลจะเห็นได้ว่าในพื้นที่ตำบลบ่อทอง อุบัติการณ์การเกิดโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวานรายใหม่ลดลง โดยมีปัจจัยเชิงบวกด้านการเข้าถึง การคัดกรองในชุมชน ซึ่งมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง  มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย มีการติดตาม วัดความดันที่บ้าน โดยเครือข่ายชุมชน อย่างต่อเนื่องเสมอมา แต่อย่างไรก็ตาม กลุ่มวัยทำงานที่เป็นโรคเบาหวาน จำนวน ๒๐๐ คน ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนประจำปี HbA1Cจำนวน ๘๕ ราย คิดเป็น ๔๒.๕๐%,มีระดับ HbA1C

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจ การบริโภคอาหาร 3อ.2ส.ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสริมสร้างทักษะในการจัดการตนเองเพื่อป้องกัน และชะลอภาวะแทรกซ้อนได้
  2. เพื่อติดตามระดับ HbA1C<7% ค่าความดันโลหิตสูงหลังได้เข่าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อีก 3 เดือน และ 6 เดือน
  3. ผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่า HbA1C>7% และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจภาพรวมในระดับดี
  4. เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงวางแผนหาแนวทางร่วม
  2. จัดอบรมให้ความรู้
  3. ติดตามเยี่ยมบ้าน
  4. จัดเวทีแลกเปลี่ยนการเรียนรู้
  5. ประชุมชี้แจงวางแผนหาแนวทางร่วม
  6. จัดอบรมให้ความรู้
  7. ติดตามเยี่ยมบ้าน
  8. จัดเวทีแลกเปลี่ยนการเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส.ที่เหมาะสม
2.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและควบคุมความดันโลหิตได้ดีขึ้น มีค่าเฉลี่ย HbA1C ลดลง และ ค่าความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ จากก่อนเข้าร่วมโครงการ 3.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการสามารถคุมค่าน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมได้อย่างต่อเนื่อง ลดภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น และมีคุณภาพชีวิตที่ดี 4.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมายที่เข่าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับ    ไปแนะนำแก่คนในครอบครัวชุมชน ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อให้เกิดชุมชนเข้มแข็ง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงวางแผนหาแนวทางร่วม

วันที่ 6 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมวางแผนหาแนวทางร่วมกับทีมสหวิชาชีพ เพื่อกำหนดปัญหาที่ต้องแก้ไขในชุมชน เกี่ยวกับการจัดโครงการนี้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ปัญหาที่ต้องแก้ไขในชุมชน เกี่ยวกับการจัดโครงการนี้

 

20 0

2. จัดอบรมให้ความรู้

วันที่ 7 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก๓อ.๒ส.แก่กลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก๓อ.๒ส.

 

50 0

3. ติดตามเยี่ยมบ้าน

วันที่ 8 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-มีการติดตามเยี่ยมบ้านโดยอสม.รับผิดชอบในเดือนที่ 1 เดือนที่ 3 และเดือนที่ 6 รวม 3 ครั้งในผู้ป่วยแต่ละคน เจาะ FBS, HbA1C ที่ระยะเวลา 3 เดือน และ 6 เดือน
- มีการติดตามเยี่ยมบ้านโดย จนท.ในผู้ป่วยเดือนที่3 เพื่อประเมินพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนตามหลัก ๓อ.๒ส.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายได้รับการเยี่ยมติดตาม ตามแผนที่วางไว้ และสามารถสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและควบคุมความดันโลหิตได้ดีขึ้น มีค่าเฉลี่ย HbA1C ลดลง และ ค่าความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ จากก่อนเข้าร่วมโครงการ สามารถคุมค่าน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมได้อย่างต่อเนื่อง ลดภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น และมีคุณภาพชีวิตที่ดี

 

50 0

4. จัดเวทีแลกเปลี่ยนการเรียนรู้

วันที่ 17 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดเวทีแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ให้กับผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มี HbA1C>7%และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่คุมไม่ได้ โดยพยาบาลผู้จัดการรายกรณี นักกำหนดอาหาร รพช.หนองจิก พยาบาลผู้รับผิดชอบงานโรคเรื้อรัง ระดับอำเภอ นักวิชาการสาธารณสุข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส.ที่เหมาะสม
2.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและควบคุมความดันโลหิตได้ดีขึ้น มีค่าเฉลี่ย HbA1C ลดลง และ ค่าความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ จากก่อนเข้าร่วมโครงการ 3.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการสามารถคุมค่าน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมได้อย่างต่อเนื่อง ลดภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น และมีคุณภาพชีวิตที่ดี 4.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมายที่เข่าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับ    ไปแนะนำแก่คนในครอบครัวชุมชน ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อให้เกิดชุมชนเข้มแข็ง

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจ การบริโภคอาหาร 3อ.2ส.ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสริมสร้างทักษะในการจัดการตนเองเพื่อป้องกัน และชะลอภาวะแทรกซ้อนได้
ตัวชี้วัด :
80.00

 

2 เพื่อติดตามระดับ HbA1C<7% ค่าความดันโลหิตสูงหลังได้เข่าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อีก 3 เดือน และ 6 เดือน
ตัวชี้วัด :
80.00

 

3 ผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่า HbA1C>7% และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจภาพรวมในระดับดี
ตัวชี้วัด :
80.00

 

4 เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจ การบริโภคอาหาร  3อ.2ส.ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสริมสร้างทักษะในการจัดการตนเองเพื่อป้องกัน และชะลอภาวะแทรกซ้อนได้ (2) เพื่อติดตามระดับ HbA1C<7% ค่าความดันโลหิตสูงหลังได้เข่าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อีก 3 เดือน และ 6 เดือน (3) ผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่า HbA1C>7% และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจภาพรวมในระดับดี (4) เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงวางแผนหาแนวทางร่วม (2) จัดอบรมให้ความรู้ (3) ติดตามเยี่ยมบ้าน (4) จัดเวทีแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ (5) ประชุมชี้แจงวางแผนหาแนวทางร่วม (6) จัดอบรมให้ความรู้ (7) ติดตามเยี่ยมบ้าน (8) จัดเวทีแลกเปลี่ยนการเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง บ่อทอง ใส่ใจ ลดภัยแทรกซ้อน ปี 2566

รหัสโครงการ 66-L7012-1-06 รหัสสัญญา 07/2566 ระยะเวลาโครงการ 1 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง บ่อทอง ใส่ใจ ลดภัยแทรกซ้อน ปี 2566 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L7012-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุทธิมา พิชัยวงศ์ธรรมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด